โดยดร.ไก่ Tanond เมื่อ 11 กรกฎาคม 2011 เวลา 8:21 น.
หมายเหตุ
- จากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาสเข้าไปอ่าน
ความคิดของผู้คนจากหลากหลายภาคส่วน ที่ได้ทำให้รู้ว่า
รายละเอียดปีกย่อยที่เป็นองค์ประกอบส่วนสำคัญของการเลือกตั้ง
ได้ถูกบิดเบือน ถูกละเว้นไม่ให้เป็นที่รู้ กระทั่งได้ถูกมองข้ามไป จนทำให้
การตัดสินใจเลือกบนพื้นฐานของการใช้สิทธินั้น
ไม่เป็นไปตามนิยามและความหมายของการเลือกตั้ง
ที่ก็มีนักวิชาการหลายท่านได้ออกอธิบายขยายความกันไปแล้ว
...แต่ทั้งนี้และทั้งนั้น ผมก็อยากจะเน้นย้ำให้เข้าใจอีกสักครั้ง
ตามนี้ครับ.-
(1)การเลือกตั้ง -แบบเดิม (ที่เป็นมาและยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน)
แถว1->= (1)การเลือกตั้ง - (2)กกต. - (3)รัฐสภา - (4)รัฐบาล = (5)ประโยชน์ชาติ / (การเมือง)
แถว2^ = (8)ยอมรับผลในเชิงปริมาณ (ใครได้เสียงมาก - เสียงน้อย)เป็นตัวชี้วัดการ แพ้ - ชนะ
แถว3^ = (7)การใช้สิทธิเลือกตั้งด้วยความเอกภาพ / (จัดตั้งฐานเสียงกันมาด้วยการซื้อเสียง!)
แถว4^ = (6)เข้าสู่การเลือกตั้ง - ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เลือกด้วยความรักใคร่/นิยม/ศรัทธา
คำอธิบาย -โดยรวมๆแล้ว นิยาม ความหมาย ความเข้าใจและเป้าประสงค์ของการเลือกตั้งของเรา
จะมีองค์ประกอบเช่นนี้ ใช่หรือไม่?
1.ถ้าใช่ - โมเดล(1) ข้างต้นนี้จะสามารถชี้ชัดได้เป็นอย่างดีว่า จากแถวที่4-3-2นั้น มีองค์ประกอบเป็นเช่นนั้นจริง
2.ถ้าใช่ - การที่พรรคเพื่อไทย ชนะการเลือกตั้งก็ย่อมแสดงว่า ผู้คนที่เลือกยอมรับองค์ประกอบในโมเดล(1)นี้
โดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึง -
2.1ประโยชน์ของชาติ หรือ ฝ่ายการเมือง? ในแถวที่1.
2.2สิทธิในอันที่จะเลือก หรือ ไม่เลือก ด้วยเหตุผลของ คุณภาพของพรรคการเมืองเป็นตัวตั้ง? ในแถวที่2.
2.3ความมีเอกภาพทางความคิดของตนเอง หรือ เลือกเพราะถูกซื้อเสียง ถูกล่อด้วยนโยบายขายฝัน?แถวที่3.
2.4เลือกเพราะปัจจัยต่างๆในข้อ(6)โดยไม่ต้องคำนึงถึง ผลงาน ประสิทธิภาพของพรรคที่เป็นตัวเลือก?แถวที่4.
จาก ข้อ1.และ2. เราอาจกล่าวได้ไหมว่า ..เราสักแต่ว่าได้ไปใช้สิทธิ ได้ไปเลือกกัน? เราไปใช้สิทธิในวันที่สำคัญยิ่งนี้อย่างผิดประเภท ผิดวัตถุประสงค์? เพราะเราต่างคิดไปเองว่า..ก็มันเป็นสิทธิส่วนบุคคลของเราจริงๆ ที่ไม่ต้องอิงเหตุอิงผล หรือ เป็นสิทธิที่เราพึงกระทำอย่างเคยทำๆมากันได้? จะไปเลือกใคร กาให้ใครมันก็เรื่องของเรา..ที่ก็จะไม่ผิดหรอกนะครับ ถ้า!!! ไอ้ข้อ2.1 - 2.4 มันไม่ได้เป็นเงื่อนไข และมันไม่ใช่ปัจจัยที่จะต้องมาพินิจพิจาราณากัน อย่างถี่ถ้วนนะขอรับ
(2) การเลือกตั้ง - แบบใหม่(ที่ควรจะเป็น)
ได้อธิบายความสำคัญ และที่มาของปัญหาไว้ในพิมพ์เขียว ฉบับ(2)นี้ไว้แล้วครับ
http://www.facebook.com/note.php?note_id=163092930370396
(1)การเลือกตั้ง -แบบเดิม (ที่เป็นมาและยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน)
แถว1->= (1)การเลือกตั้ง - (2)กกต. - (3)รัฐสภา - (4)รัฐบาล = (5)ประโยชน์ชาติ / (การเมือง)
แถว2^ = (8)ยอมรับผลในเชิงปริมาณ (ใครได้เสียงมาก - เสียงน้อย)เป็นตัวชี้วัดการ แพ้ - ชนะ
แถว3^ = (7)การใช้สิทธิเลือกตั้งด้วยความเอกภาพ / (จัดตั้งฐานเสียงกันมาด้วยการซื้อเสียง!)
แถว4^ = (6)เข้าสู่การเลือกตั้ง - ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เลือกด้วยความรักใคร่/นิยม/ศรัทธา
คำอธิบาย -โดยรวมๆแล้ว นิยาม ความหมาย ความเข้าใจและเป้าประสงค์ของการเลือกตั้งของเรา
จะมีองค์ประกอบเช่นนี้ ใช่หรือไม่?
1.ถ้าใช่ - โมเดล(1) ข้างต้นนี้จะสามารถชี้ชัดได้เป็นอย่างดีว่า จากแถวที่4-3-2นั้น มีองค์ประกอบเป็นเช่นนั้นจริง
2.ถ้าใช่ - การที่พรรคเพื่อไทย ชนะการเลือกตั้งก็ย่อมแสดงว่า ผู้คนที่เลือกยอมรับองค์ประกอบในโมเดล(1)นี้
โดยไม่จำเป็นต้องคำนึงถึง -
2.1ประโยชน์ของชาติ หรือ ฝ่ายการเมือง? ในแถวที่1.
2.2สิทธิในอันที่จะเลือก หรือ ไม่เลือก ด้วยเหตุผลของ คุณภาพของพรรคการเมืองเป็นตัวตั้ง? ในแถวที่2.
2.3ความมีเอกภาพทางความคิดของตนเอง หรือ เลือกเพราะถูกซื้อเสียง ถูกล่อด้วยนโยบายขายฝัน?แถวที่3.
2.4เลือกเพราะปัจจัยต่างๆในข้อ(6)โดยไม่ต้องคำนึงถึง ผลงาน ประสิทธิภาพของพรรคที่เป็นตัวเลือก?แถวที่4.
จาก ข้อ1.และ2. เราอาจกล่าวได้ไหมว่า ..เราสักแต่ว่าได้ไปใช้สิทธิ ได้ไปเลือกกัน? เราไปใช้สิทธิในวันที่สำคัญยิ่งนี้อย่างผิดประเภท ผิดวัตถุประสงค์? เพราะเราต่างคิดไปเองว่า..ก็มันเป็นสิทธิส่วนบุคคลของเราจริงๆ ที่ไม่ต้องอิงเหตุอิงผล หรือ เป็นสิทธิที่เราพึงกระทำอย่างเคยทำๆมากันได้? จะไปเลือกใคร กาให้ใครมันก็เรื่องของเรา..ที่ก็จะไม่ผิดหรอกนะครับ ถ้า!!! ไอ้ข้อ2.1 - 2.4 มันไม่ได้เป็นเงื่อนไข และมันไม่ใช่ปัจจัยที่จะต้องมาพินิจพิจาราณากัน อย่างถี่ถ้วนนะขอรับ
(2) การเลือกตั้ง - แบบใหม่(ที่ควรจะเป็น)
ได้อธิบายความสำคัญ และที่มาของปัญหาไว้ในพิมพ์เขียว ฉบับ(2)นี้ไว้แล้วครับ
http://www.facebook.com/note.php?note_id=163092930370396
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น