กระบวนการโหวตโน Vote No Process
ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของโหวตโน ต่อการเมืองในอนาคต -
1.ในส่วนของโครงสร้างทางการเมือง(ส่วนบน)
-โหวตโน คือ ตัว input ข้อเรียกร้องที่แสดงถึง"การปฏิเสธ+การไม่ยอมรับ"
นักการเมือง และวิธีการที่จะเข้าสู่อำนาจในกล่องที่(1)และ (2)
-ผลของการโหวตโน จะเป็นเช่นไร จะออกมาที่ตัว output โดย
จะมี "ความมีหรือไม่มีความชอบธรรมทางการเมือง" เป็นตัวกำหนด
>>>>>>>>>>[สถาบันพระมหากษัตริย์]<<<<<<<<<<
- รัฐธรรมนูญ -
โครงสร้างส่วนบน
input > 1.[บริหาร] 2.[นิติบัญญัติ] 3.[ตุลาการ] > out put
ข้อเรียกร้อง 4. [ข้าราชการส่วนกลาง] 1.นโยบาย
ข้อสนับสนุน | 2.พรบ /พรก/พรฏ
[ทหาร] | 3.คำพิพากษา
| 4.กฏกระทรวง/กรม
โครงสร้างส่วนกลาง
[กลุ่มกดดัน] [กลุ่มผลประโยชน์] [สื่อมวลชน]
[ข้าราชการส่วนภูมิภาค]
|
|
[ประชาชน]
[องค์กรปกครอง/ข้าราชการส่วนท้องถิ่น]
โครงสร้างสร้างส่วนล่าง
2.รัฐธรรมนูญ มาตรา๓.
- อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
- อำนาจที่ฝ่ายการเมืองคืนให้ประชาชน จึงกลับมาอยู่ที่พระมหากษัตริย์ เพื่อทรงใช้กับ โครงสร้างส่วนบน
กล่องที่(1 - 3)ทั้งแบบในระบบ และบางเหตุการณ์ที่มีการเข้าสู่อำนาจ แบบนอกระบบ(รัฐประหาร)
- หากผลของโหวตโน มีเกินกึ่งหนึ่ง ของผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ประชาชนก็จะสามารถใช้สิทธิ์ ปฏิเสธผลลัพธ์จากการเลือกตั้ง ตามความหมายข้างต้นนี้ได้ ทั้งในระบบ-จากการประท้วงกดดันinput และจากประเพณีปฏิบัติด้วยการถวายฎีกา ถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ทรงมีพระราชวินิจฉัย เพื่อเปิดทางสู่การนำใช้รัฐธรรมนูญ มาตรา๗
4.รัฐธรรมนูญ มาตรา๗.
- ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วนิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- ที่ผ่านๆมา เมื่อเกิดปฏิวัติ รัฐประหารเพื่อยึดอำนาจจากฝ่ายการเมือง คณะผู้ยึดอำนาจจึงเป็นองค์รัฐาธิปัตย์แทนฝ่ายการเมือง และจัดตั้งรัฐบาลเอง ในรูปแบบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ที่มีอำนาจ 3 ฝ่าย กล่อง(1 - 3)คงเดิม และถือได้ว่ามีความชอบธรรมทางการเมือง หากปราศจากการต่อต้านใดๆ
5.ผลลัพธ์ของ "ความชอบและไม่ชอบธรรมทางการเมือง" -
-ในเมื่อคณะผู้ยึดอำนาจ จัดตั้งรัฐบาลภายใต้สภานิติบัญญัติได้ แล้วทำไมประชาชนจะร้องขอพระองค์ท่านให้ทรงมี รัฐบาลโดยภาคประชาชน สำหรับคนทั้งประเทศไม่ได้หล่ะครับ เพราะจะไม่มีความแตกต่างใน"รูปแบบ"กับสภานิติบัญญัติฯเลย และกลับจะอิงต่อความเป็นประชาธิปไตย ที่มาจากประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ได้เข้ามาปรับเปลี่ยน แก้ไขในทุกองคาพยพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้เป็น ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง
บทสรุป -
- ความไม่ชอบธรรมทางการเมืองนั้น สะท้อนให้เห็นได้จากคะแนนโหวตโน เกินครึ่งจากผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
- ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น สะท้อนให้เห็นได้จากเหตุผลที่อ้างอิงจากโครงสร้างทางการเมือง ตัวบทกฎหมาย ตามความในรัฐธรรมนูญ มาตรา๓ และมาตรา๗
- การโหวตโน คือ เครื่องมือที่เป็นสันติวิธี ที่ประชาชนมีสิทธิ์ใช้ ตามความในรัฐธรรมนูญ มาตรา๖๙
จัดทำโดย : ศูนย์ปฏิบัติการณ์การเมืองภาคประชาชน บนFACEBOOK
1.ในส่วนของโครงสร้างทางการเมือง(ส่วนบน)
-โหวตโน คือ ตัว input ข้อเรียกร้องที่แสดงถึง"การปฏิเสธ+การไม่ยอมรับ"
นักการเมือง และวิธีการที่จะเข้าสู่อำนาจในกล่องที่(1)และ (2)
-ผลของการโหวตโน จะเป็นเช่นไร จะออกมาที่ตัว output โดย
จะมี "ความมีหรือไม่มีความชอบธรรมทางการเมือง" เป็นตัวกำหนด
>>>>>>>>>>[สถาบันพระมหากษัตริย์]<<<<<<<<<<
- รัฐธรรมนูญ -
โครงสร้างส่วนบน
input > 1.[บริหาร] 2.[นิติบัญญัติ] 3.[ตุลาการ] > out put
ข้อเรียกร้อง 4. [ข้าราชการส่วนกลาง] 1.นโยบาย
ข้อสนับสนุน | 2.พรบ /พรก/พรฏ
[ทหาร] | 3.คำพิพากษา
| 4.กฏกระทรวง/กรม
โครงสร้างส่วนกลาง
[กลุ่มกดดัน] [กลุ่มผลประโยชน์] [สื่อมวลชน]
[ข้าราชการส่วนภูมิภาค]
|
|
[ประชาชน]
[องค์กรปกครอง/ข้าราชการส่วนท้องถิ่น]
โครงสร้างสร้างส่วนล่าง
2.รัฐธรรมนูญ มาตรา๓.
- อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
- อำนาจที่ฝ่ายการเมืองคืนให้ประชาชน จึงกลับมาอยู่ที่พระมหากษัตริย์ เพื่อทรงใช้กับ โครงสร้างส่วนบน
กล่องที่(1 - 3)ทั้งแบบในระบบ และบางเหตุการณ์ที่มีการเข้าสู่อำนาจ แบบนอกระบบ(รัฐประหาร)
3.ความชอบธรรมทางการเมือง
หมายถึง ความชอบธรรมที่เกี่ยวพันกับความสามารถของระบบที่จะก่อให้เกิด และรักษาไว้ซึ่งความเชื่อที่ว่า การคงอยู่ของสถาบันในระบบเป็นความพึงพอใจสูงสุดของสังคม หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ ไม่ว่าในระบบการเมืองใดก็ตาม ที่สามารถสร้างประสิทธิภาพสูงสุดให้กับสังคมและประชาชน ระบบการเมืองนั้นก็ย่อมมีความชอบธรรมทางการเมืองทั้งสิ้น
โดยไม่ว่าจะเป็นระบบการปกครองแบบกษัตริย์ เผด็จการ คอมมิวนิสต์ หรือ ประชาธิปไตย ปัจจัยสำคัญในการคงอยู่ของความชอบธรรมทางการเมือง จึงมาจากการยอมรับในตัวระบอบการปกครองนั้นๆของประชาชน ซึ่งมีรากฐานมาจากประสิทธิภาพในการดำเนินงานและทำหน้าที่ของกลไกภายในตัว ระบบเอง
- หากผลของโหวตโน มีเกินกึ่งหนึ่ง ของผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ประชาชนก็จะสามารถใช้สิทธิ์ ปฏิเสธผลลัพธ์จากการเลือกตั้ง ตามความหมายข้างต้นนี้ได้ ทั้งในระบบ-จากการประท้วงกดดันinput และจากประเพณีปฏิบัติด้วยการถวายฎีกา ถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ทรงมีพระราชวินิจฉัย เพื่อเปิดทางสู่การนำใช้รัฐธรรมนูญ มาตรา๗
4.รัฐธรรมนูญ มาตรา๗.
- ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วนิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- ที่ผ่านๆมา เมื่อเกิดปฏิวัติ รัฐประหารเพื่อยึดอำนาจจากฝ่ายการเมือง คณะผู้ยึดอำนาจจึงเป็นองค์รัฐาธิปัตย์แทนฝ่ายการเมือง และจัดตั้งรัฐบาลเอง ในรูปแบบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ที่มีอำนาจ 3 ฝ่าย กล่อง(1 - 3)คงเดิม และถือได้ว่ามีความชอบธรรมทางการเมือง หากปราศจากการต่อต้านใดๆ
5.ผลลัพธ์ของ "ความชอบและไม่ชอบธรรมทางการเมือง" -
-ในเมื่อคณะผู้ยึดอำนาจ จัดตั้งรัฐบาลภายใต้สภานิติบัญญัติได้ แล้วทำไมประชาชนจะร้องขอพระองค์ท่านให้ทรงมี รัฐบาลโดยภาคประชาชน สำหรับคนทั้งประเทศไม่ได้หล่ะครับ เพราะจะไม่มีความแตกต่างใน"รูปแบบ"กับสภานิติบัญญัติฯเลย และกลับจะอิงต่อความเป็นประชาธิปไตย ที่มาจากประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ได้เข้ามาปรับเปลี่ยน แก้ไขในทุกองคาพยพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้เป็น ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง
บทสรุป -
- ความไม่ชอบธรรมทางการเมืองนั้น สะท้อนให้เห็นได้จากคะแนนโหวตโน เกินครึ่งจากผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
- ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น สะท้อนให้เห็นได้จากเหตุผลที่อ้างอิงจากโครงสร้างทางการเมือง ตัวบทกฎหมาย ตามความในรัฐธรรมนูญ มาตรา๓ และมาตรา๗
- การโหวตโน คือ เครื่องมือที่เป็นสันติวิธี ที่ประชาชนมีสิทธิ์ใช้ ตามความในรัฐธรรมนูญ มาตรา๖๙
จัดทำโดย : ศูนย์ปฏิบัติการณ์การเมืองภาคประชาชน บนFACEBOOK