มีเพื่อนฝรั่งหลายคนหลายชาติชอบถามผมว่า ประเทศไทยในอนาคตอันใกล้จะเป็นยังไง? ทักษิณจะได้กลับบ้านหรือเปล่า? เสื้อแดง เสื้อเหลือง หรือเสื้อสีอื่นๆ จะออกมาอาละวาดอีกหรือเปล่า? ก่อนผมจะตอบ ผมถามเขากลับก่อนว่าทำไม? และคิดยังไง? ส่วนใหญ่ก็บอก พวกเขาเห็นว่าประเทศไทย ดี อุดมสมบูรณ์และคนไทยเป็นคนดี มีจิตใจกว้าง แต่ทำไมจึงมีเรื่องทะเลาะกันรุนแรงอยู่เรื่อย ส่วนใหญ่เขาบอกว่า ทักษิณไม่น่าจะกลับมา แต่ก็มีความเชื่อว่า เขาจะกลับมาแน่ๆ
คำตอบผมก็คือ ตอนนี้ก็ไม่น่าจะมีอะไรแล้ว แม้เราจะมีรัฐบาลนอมินี แต่ก็ได้รับเลือกตั้งจากเสียงส่วนใหญ่ ตอนนี้พวกแกนนำเสื้อแดงก็ได้เป็นรัฐบาลแล้ว ไม่ต้องเกณฑ์คนรากหญ้ามาเกะกะถนนอีกแล้ว หรือถ้ามีชุมนุมเช่นในวันรัฐธรรมนูญ ก็มีมากันน้อย ไม่กี่ร้อยคนที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไม่มีแกนนำเสื้อแดงมาเลยซักคน ทั้งที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญปี 2540 ที่คนเสื้อแดงต้องการในหลายปีที่ผ่านมา
ผมเข้าใจว่าแกนนำเหล่านี้ ตอนนี้ตัวเองเป็นอำมาตย์แล้ว รัฐธรรมนูญอันไหนก็เหมือนกัน "กู" เป็นรัฐบาลเป็นใช้ได้ ไม่ต้องมาชุมนุมกับพวกไพร่หรอก ไว้เลิกเป็นฝ่ายรัฐบาลเมื่อไหร่ ค่อยกลับมาเป็นหัวหน้าไพร่เหมือนเดิม ใช่หรือไม่
ส่วนความเห็นผม เรื่องทักษิณจะกลับหรือไม่ ในความเห็นส่วนแล้ว อยากให้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอย่างเต็มภาคภูมิ ในเมื่อคนส่วนใหญ่ คนรากหญ้าชื่นชมท่าน เลือกพรรคของท่าน เลือกตัวแทนท่านให้มาเป็นรัฐบาลอีก ก็ควรให้ท่านมาทำงานให้คนรากหญ้า
ให้คนรากหญ้าได้รู้ว่าแน่จริง เก่งจริง และจะทำประโยชน์ให้กับคนรากหญ้าส่วนใหญ่ได้จริงหรือไม่ เพราะได้ทำไว้นิดหน่อยในอดีต และที่สัญญาว่าจะทำ แต่ยังทำไม่ได้ หรือยังไม่ได้ทำมีอีกเยอะ จะได้พิสูจน์เสียทีว่าเก่งจริงหรือไม่ อย่าได้หลงผิดว่า เป็นเทวดาทำได้อยู่คนเดียว
ผมว่าทักษิณเป็นคนโชคดีมากกว่าที่รวยมหาศาลจากสัมปทานผูกขาดจากรัฐ ตั้งแต่โทรศัพท์มือถือจนถึงดาวเทียม มีเงินใช้เล่นการเมืองได้อย่างเต็มๆ ผมอยากบอกคนรากหญ้าว่า คนในเมืองไทยที่เก่งและดีกว่าคุณทักษิณยังมีอีกเยอะ ส่วนเรื่องจริงที่ท่านจะกลับมาได้หรือไม่ ต้องถามศาลสถิตยุติธรรม ถ้าจะกลับมาแล้วต้องติดคุก ต้องมาสู้คดีอีก 2 คดี คงไม่กล้ากลับมา จริงหรือไม่?
I had a question from my foreign friends from many countries asking what the future will be for Thailand; whether Thaksin shall be back home, whether Red Shirt, Yellow Shirt and other color shirts shall be out on the street again. I counter question back how they are thinking as foreigner, and the major answer wish for peaceful solution not agreeing Thanksin to be back, however, believing Thaksin shall return. I reiterated that Thailand is peaceful at the present time as this government, even though being a nominee, was elected by majority of the people. The Res Shirts are in the government now and do not need to make a mob to protest for anything. Like the demonstration at the Constitution Monument on 10th December, there was a small number of few hundreds of attendants. Not a single core leader has shown up at the site, I believe, they are in the government now as Ammat (Ruler), not a Pry (People) any longer, why they should come to the Pry demonstration for change of constitution. Being as the Government, they can go along with any constitution either 2540 or 2550. In regard Thaksin question, on my personal view, I want Thaksin to be back to Thailand as real Prime Minister working for the grass route people who adore him and elected his party to be government. Let the people see if he could fulfill his pledges and lot of promises for the grass route people. He had achieved some in the past, and also could not or had not accomplished many things for the people yet. Let him prove his ability and sincerity, even though I do not believe in him as he failed many cased in his pledge like solving traffic in Bangkok, nevertheless, I would like to give him the chance. But one true thing, he was sentenced by court for two year prison and pending another two law suits in court, would he return to face the jail and court. It is true, isn't it?
เพื่อนฝรั่งถามผมอีกเรื่องว่า ถ้าประเทศไทยไม่มี "ในหลวง" จะเป็นอย่างไร พอดีกับตอนนี้มีเรื่องฮิตของอากงที่ทำผิดกฎหมาย และถูกศาลตัดสินจำคุกไปแล้ว ผมก็เป็นอากงเหมือนกัน แต่เป็นอากงที่รักในหลวง ได้เห็นและรับรู้เสมอมาตั้งแต่เกิดว่า ประเทศไทยมีในหลวงเป็นประมุขที่ดี เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของประชาชนทุกคนตลอดมา ผมขอเป็นคนดี ไม่ทำผิดกฎหมาย และไม่กระทำอะไรให้ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท
ถ้าอากงคนใดทำผิดกฎหมายก็ต้องถูกลงโทษ ถ้าโดยความไม่รู้ ไม่ตั้งใจ ก็ไปอุทธรณ์ที่ศาลพิสูจน์ หรือขอรัฐบาลให้ทำเรื่องขอพระราชทานอภัยโทษก็ได้ พวกเสื้อแดงถือโอกาสเรื่องอากงคนนี้เรียกร้องจะขอยกเลิกหรือแก้กฎหมายมาตรา 112 ผมเลยตอบพวกฝรั่งด้วยเสียงดังๆ ชัดๆ ว่า
คนไทยทุกคนรักและเทิดทูนในหลวง ยกเว้นพวกเสื้อแดง และพวกนี้มีจำนวนเพียงแค่หยิบมือเดียวในเมืองไทย สร้างความปั่นป่วนทุกรูปแบบทั้งในประเทศและนอกประเทศ และพวกนี้ไม่สมควรอยู่ในเมืองไทย ไปอยู่ประเทศอื่นเสียเถอะ เขมรก็ได้ที่เป็นที่หลบภัยของพวกทำผิดกฎหมายจากเมืองไทยโดยเฉพาะพวกเสื้อแดง ถ้าจะอยู่เมืองไทย อยู่ได้ในคุกที่เดียว จริงหรือไม่?
It is another very important question from my foreigner friend, how Thailand would be if without his Majesty the King. Also now there is a big hit in the media about Ah Kong (Grandfather in Chinese) who was sentenced to jail by his fault of lese majesty. The Red Shirt Ammats are now using the case to proclaim the abrogation or change the Law 112 concerning the lese majesty case. Ah Kong had committed against the law and been punished by the court. If he is innocent or did the fault by misunderstanding, he could appeal with new evident or asked the government to proceed for royal amnesty. I am also a Ah Kong, but I would not made anything against the law and would not make thing bad against my beloved King. I replied with pride that all Thai people love our King except those communist Red Shirt people and they are just a few minority of Thai society and create many bad things against Thailand and our beloved King inside and outside our country. These people should live elsewhere in Thailand. There is only one place for them in Thailand, it is jail. Is it right?
-ชรินทร์ นุกรณ์นวรัตน์
บทความจากคอลัมณ์ เปลวสีเงิน
วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2554
Translation from Original by Supreme Court Judge Yindee Watcharapong Torsuwan : Lese Majesty Law 112 / Ar Kong Case
โดยดร.ไก่ Tanond
บทความและคำแปลเป็นภาษาอังกฤษ ของท่านผู้พิพากษายินดี วัชรพงศ์ ต่อสุวรรณ เรื่องกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ศาล รัฐบาล รัฐสภา กองทัพ และพรรคการเมืองต้องไม่หลงประเด็นคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
http://manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9540000159800
This academic article is about principles of rectitude for exercising court authority which requires highly intelligent principles (Dharma) so called “Atamayata” and worldly-minded intelligence for living healthily mentally and physically worldly (worldly-wise) for just, prosperity, culture preservation, and morality. The reason is that the current court function is amidst high social conflicts and resultant social viciousness (U-batwa in Pali means results of conflicts. Wherever conflict arises, so does viciousness). As a result of viciousness, the court has to exercise the duty rightfully based on justness of legality, culture, morality and probably religions.
The information from the public media about Lese Majesty case of Mr.Amporn, known as Ar Kong, 61 years old, reveals that he sent SMSs from mobile phones to third parties. The SMSs consist of profanity defaming and abusive words to Royal institutions, libels to the Queen. The court sentences the defendant to 5 years imprisonment for each deed. He committed 4 deeds in all, making a total of 20 years imprisonment, in the case number Red 4726/2554. In another case, Mr.Lerpong Wichai Commart or Sin Sae-jew or Joe Gordon, a 54-year old Thai-born with American nationality, is jailed with a relieved sentence of 2-and-a half-year after pleading guilty of Lese Majesty and instigation of public to violate the law.
Both sentences spark critiques against the court. Such critiques accuse the court of excessive punishment and further a proposal for abolition of Criminal Codes Act article 112. A foreign Ambassador and UN High Commissioner for Human Rights call for an amendment of Lese Majesty laws, and request the government to order the police and the state attorney to refrain from charging people with subtle laws. Meanwhile the Truth for Reconciliation Commission of Thailand (TRC) has come out to propose unity and integration of all authorities involving in Lese Majesty law. Also TRC proposes that such cases should be under state attorney’s judgement either to prosecute or not, while Lese Majesty defendants would be eligible for temporary release on bail. In addition, there should be standardized procedures for Lese Majesty cases, not to be abused during time of political conflicts.
In the meantime, the government has never prosecuted those widespread Lese Majesty websites which undermine the national security. The government, by the Deputy Prime Minister, has just vaguely agreed with suppression of Lese Majesty websites along with purchasing of websites suppression instruments costing 400 million baht (USD 13 million). If they can actually suppress such websites, they may also be used for protection or for blackmailing perpetrators depending on the instrument controller’s wishes.
The recent domestic and international claims that court’s sentences, according to article 112 for Lese Majesty convicts, violate human rights and are not of universal standard of justice as exemplified by “Ar Kong case” and “Joe Gordon case” to justify repealing of article 112, are in contrast with long presence of membership of the UN Human Rights Treaties.
The author would like to raise issues to point that Criminal Codes article 112 complies with human rights principles and international standard of the international treaties which Thailand has already been a member.
1.Thai history and culture
Historically and culturally, the King is the head of the state. From ancient time, the Kings were the rulers and army leaders in war times, as well as the administrators of diplomacy to protect the land and citizens from foreign invasion. The Kings united the territories since Sukhothai, Ayudhaya, Thonburi and Ratanakosin were capitals. The Kings and Royal institutions therefore has affection and affinity to the people. The people love, respect, worship and are grateful to the Kings and Royal institutions because of the centuries-long benefaction and patronage of the Kings toward the people and the country. Consequently, Thai culture was born as a culture with the King as the head to whom all Thai citizens have loyalty and psychologically look up to. Thus, Royal institutions have been cores of Thai national security.
When the country changed the administrative system to democracy by "Citizen Party", HM Rama 7, on abdicating the throne, gave the administrative authority to the people in order that they would govern themselves. Since 1932, the governments then and until now have accepted that our Thai culture has the King as the head whom the people have developed loyalty, respect and worship. The people hold Royal institutions centripetally and cores of national security of the Kingdom.
Because of such culture, democratic administrations agree to apply such principle to govern the country which is Constitutional Monarchy and has lasted for over 75 years. The acceptance of such culture is evident in the present constitution's article 2 saying, "The Kingdom of Thailand is under a Constitutional Monarchy" and article 8 saying, "HM the King is in the highly repectful status which no one may violate, accuse, nor prosecute in anyway."
Such culture, binding people together as a nation, resides in people's hearts and souls. The people realize that such culture is the national security. Therefore, the Consitution has enacted the state's policies to preserve and defend the culture in the state's security policies article 77, "The state must preserve and defend the Royal institutions, sovereignty, autonomy and integrity of the country's jurisdiction. The state must be armed with military force, ammunitions, adequate and advance technologies to defend the autonomy, sovereignty, state security, Royal institutions, national interests, and the Constitutional Monarchy as well as country's development." Also, several other articles in the constitution have confirmed the centripetal culture as the national security. The 2007's Constitution has passed the national referendum to confirm the national agreement that the whole nation intends to preserve such national security culture in which the King is the head and inviolable.
Thailand has never been a colony or under protectorate of any country. Thailand is a small country which has continuously preserved her autonomy because of the culture in which the King is the head and the centripetal embodiment of the whole nation. National assimilation, taking over a nation, total annihilaton may be possible following an unfair election, electoral frauds and undemocratic environment as defined against "democracy".
Since integration of races is unforbidable, Thai-born of other races from rich countries or super power may become a prime minister of Thailand through an election. Either domestic Thai or Thai-born person can afford to win an election. The source of fund cannot be traced because there is no effective organization to vertify and control the source of fund imported for electoral frauds.
Attempts of present Thai politicians to win elections evidently are only racing toward Thai national treasures and country's center of power. Whereever there is a conflict between immoral exercise of authority against impeding moral senior governmental officials, there would be a purge to get them out of the way or bribery to satisfy their greeds, exploiting and sharing national treasures in between themselves.
Such elections to access Thai treasures and power, thus, could result in the administors who could be traitors and saboteurs. Evidently, for example, a Peruvian nationality of Japanese inheritance President of Peru won an election and recovered Peruvian economy but committed corruptions and human rights abuses. He fled from the country to seek sanctuary in Japan.
The most effective means of sabotaging national security are eradication of the psychological culture of loyalty, respect and worship of the King and Royal institutions. Lese Majesty against the King and Royal institutions to instigate hatred and feud is not only to the Royalty but also to the Thai culture and national security.
The criminal offence against article 112 is therefore not only an offence toward the reputation and dignity of the King and Royal institutions, but also an offence against the culture and national security. Consequently, article 112 is enacted in the Criminal Codes Act, Section of Offences Against the Security of the Kingdom which possesses severe penalties to match the crimes.
2. The criminal offence against article 112 possesses penalties in accordance with Humanitarian principles as defined by International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights.
The UN High Commissioner for Human Rights issue an international treaty for human rights in economy, society, and culture which accepts cultural rights as defined in the preamble of the treaty, "everyone may enjoy his economic, social, and cultural rights, as well as his civil and political rights". Also, articles 1 and 15 say, "The States Parties to present Covenant Recognize the right of everyone:(a) to take part in cultural life". Thus, the Criminal Codes Act article 112 is in accordance with the treaty for human rights in culture and must be supported by the UN High Commissioner for Human Rights.
The claim by the UN High Commissioner for Human Rights of the unjustifiability of Lese Majesty law, consequently supports a group of people who want to undermine Thai culture and national security. Since Thailand is a member of the treaty, such claim by the UN High Commissioner for Human Rights and an ambassador may be considered instigating division of the society and Thai citizens, which is against the principles of human rights because such claim destroys peaceful coexistence of the citizens of a member of UN, and violates international conventions as well as the United Nations Charter.
3. Ar Kong and Joe Gordon's deeds are violation of human rights principles as stipulated by International Covenant on Civil and Political Rights, Article 17, 19
Article 17
1. No one shall be subjected to arbitrary or unlawful interference with his privacy, family, home or correspondence, nor to unlawful attacks on his honour and reputation.
2. Everyone has the right to the protection of the law against such interference or attacks.
Article 19
1. Everyone shall have the right to hold opinions without interference.
2. Everyone shall have the right to freedom of expression; this right shall include freedom to seek, receive and impart information and ideas of all kinds, regardless of frontiers, either orally, in writing or in print, in the form of art, or through any other media of his choice.
3. The exercise of the rights provided for in paragraph 2 of this article carries with it special duties and responsibilities. It may therefore be subject to certain restrictions, but these shall only be such as are provided by law and are necessary:
(a) For respect of the rights or reputations of others;
(b) For the protection of national security or of public order (ordre public), or of public health or morals.
Thus, the International Covenant on Civil and Political Rights does not give freedom of expression. Instead, it is an international covenant to protect human rights of victims and the national security, public order, public health and morality of the public of member nations because the covenant permits member nations to enact laws to protect the rights and reputations of others as well as the national security, public order, public health and morality.
Thailand has enacted the laws accordingly to protect the rights and reputations of others as well as the security of the Kingdom of Thailand, public order, public health and morality, in article 45 of the Constitution which states,"Every person has freedom of expression, speech, writing, printing, press, and any communication means. Restriction of the rights in the first clause is not permitted except provided by the laws to protect the state security; rights, freedom, dignity, reputation, family and privacy rights of others; or to protect public peace, order and morality; or to protect public psychological or physical health. "
Moreover, the constitution stipulates the limitation of anyone exercising of the rights and freedom to protect the culture and security of the country in article 68, "No one shall be allowed to exercise the rights and freedom as stipulated by the constitution to aboish the Constitutional Monarchy." Since Thailand has the constitution to protect the culture and national security which is in agreement with the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights and the International Covenant on Civil and Political rights, Thai courts sentencing of "Ar Kong case" and "Joe Gordon case" are, as a result,in accordance with international human rights principles and on humanitarian grounds.
4. The court proceedings in "Ar Kong case" and "Joe Gordon case" are based on rightful ground and justness which follow principles of human rights of both the defendants and the victim, head of the country, because human rights do not limit only to the defendants and convicts but also include the victims' human rights.
The offence in these cases are against the head of the country as well as the undermining of the national culture which can be considered as attempting to abolish Constitutional Monarchy system. Thus, it is of a national security concern and all people who possess the culture of the King as the head of the Kingdom may be considered having their human rights violated. (Everyone may enjoy his cultural right.) Therefore, the people has the right to accuse persons or political parties which commit an abolition of national security related culture. The people have the rights to submit a complaint to the attorney general to investigate and proceed to filing to the Constitutional Court to cease such violation by themselves. (even without the attorney general's conclusion--Supreme Court Judge Yindee's opinion) because it is so crucial to protect the nation's catastrophe resulting from the abolition of national security related culture. If it is a case of a political party who commits such offence, the people may not file a complaint to the Constitutional Court but the court may order a disband of the party and its politician's political rights, if the court sees appropriate, as stipulated by the constitution article 68.
5. Why a foreign Ambassador and the UN High Commissioner for Human Rights come out in "Ar Kong case" and "Joe Gordon case", may be because of inadequate knowledge of Thai culture. The foreign ministry has the duty to explain this to foreigners because it involves national prides and sovereignty, and could affect the administration of the court, the government and the house of legislation as well as the Royal Thai army which have to protect the Kingdom's security.
If the foreign ministry ignores such explanation, or if it cannot explain to the foreign nations and international organizations, for whatever reasons, the Bureau of the Court of Justice should explain through the foreign ministry or advise the foreign ministry to proceed accordingly. If the misunderstanding is ignored, the roles of foreign nations and international organizations may turn to be severe internal national security as well.
Original Article in Thai
By Supreme Court Judge Yindee Watcharapong Torsuwan
December 15, 2011
Translated with slight modification, if any errors are present, they belong to Ronayos.
บทความและคำแปลเป็นภาษาอังกฤษ ของท่านผู้พิพากษายินดี วัชรพงศ์ ต่อสุวรรณ เรื่องกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ศาล รัฐบาล รัฐสภา กองทัพ และพรรคการเมืองต้องไม่หลงประเด็นคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
http://manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9540000159800
This academic article is about principles of rectitude for exercising court authority which requires highly intelligent principles (Dharma) so called “Atamayata” and worldly-minded intelligence for living healthily mentally and physically worldly (worldly-wise) for just, prosperity, culture preservation, and morality. The reason is that the current court function is amidst high social conflicts and resultant social viciousness (U-batwa in Pali means results of conflicts. Wherever conflict arises, so does viciousness). As a result of viciousness, the court has to exercise the duty rightfully based on justness of legality, culture, morality and probably religions.
The information from the public media about Lese Majesty case of Mr.Amporn, known as Ar Kong, 61 years old, reveals that he sent SMSs from mobile phones to third parties. The SMSs consist of profanity defaming and abusive words to Royal institutions, libels to the Queen. The court sentences the defendant to 5 years imprisonment for each deed. He committed 4 deeds in all, making a total of 20 years imprisonment, in the case number Red 4726/2554. In another case, Mr.Lerpong Wichai Commart or Sin Sae-jew or Joe Gordon, a 54-year old Thai-born with American nationality, is jailed with a relieved sentence of 2-and-a half-year after pleading guilty of Lese Majesty and instigation of public to violate the law.
Both sentences spark critiques against the court. Such critiques accuse the court of excessive punishment and further a proposal for abolition of Criminal Codes Act article 112. A foreign Ambassador and UN High Commissioner for Human Rights call for an amendment of Lese Majesty laws, and request the government to order the police and the state attorney to refrain from charging people with subtle laws. Meanwhile the Truth for Reconciliation Commission of Thailand (TRC) has come out to propose unity and integration of all authorities involving in Lese Majesty law. Also TRC proposes that such cases should be under state attorney’s judgement either to prosecute or not, while Lese Majesty defendants would be eligible for temporary release on bail. In addition, there should be standardized procedures for Lese Majesty cases, not to be abused during time of political conflicts.
In the meantime, the government has never prosecuted those widespread Lese Majesty websites which undermine the national security. The government, by the Deputy Prime Minister, has just vaguely agreed with suppression of Lese Majesty websites along with purchasing of websites suppression instruments costing 400 million baht (USD 13 million). If they can actually suppress such websites, they may also be used for protection or for blackmailing perpetrators depending on the instrument controller’s wishes.
The recent domestic and international claims that court’s sentences, according to article 112 for Lese Majesty convicts, violate human rights and are not of universal standard of justice as exemplified by “Ar Kong case” and “Joe Gordon case” to justify repealing of article 112, are in contrast with long presence of membership of the UN Human Rights Treaties.
The author would like to raise issues to point that Criminal Codes article 112 complies with human rights principles and international standard of the international treaties which Thailand has already been a member.
1.Thai history and culture
Historically and culturally, the King is the head of the state. From ancient time, the Kings were the rulers and army leaders in war times, as well as the administrators of diplomacy to protect the land and citizens from foreign invasion. The Kings united the territories since Sukhothai, Ayudhaya, Thonburi and Ratanakosin were capitals. The Kings and Royal institutions therefore has affection and affinity to the people. The people love, respect, worship and are grateful to the Kings and Royal institutions because of the centuries-long benefaction and patronage of the Kings toward the people and the country. Consequently, Thai culture was born as a culture with the King as the head to whom all Thai citizens have loyalty and psychologically look up to. Thus, Royal institutions have been cores of Thai national security.
When the country changed the administrative system to democracy by "Citizen Party", HM Rama 7, on abdicating the throne, gave the administrative authority to the people in order that they would govern themselves. Since 1932, the governments then and until now have accepted that our Thai culture has the King as the head whom the people have developed loyalty, respect and worship. The people hold Royal institutions centripetally and cores of national security of the Kingdom.
Because of such culture, democratic administrations agree to apply such principle to govern the country which is Constitutional Monarchy and has lasted for over 75 years. The acceptance of such culture is evident in the present constitution's article 2 saying, "The Kingdom of Thailand is under a Constitutional Monarchy" and article 8 saying, "HM the King is in the highly repectful status which no one may violate, accuse, nor prosecute in anyway."
Such culture, binding people together as a nation, resides in people's hearts and souls. The people realize that such culture is the national security. Therefore, the Consitution has enacted the state's policies to preserve and defend the culture in the state's security policies article 77, "The state must preserve and defend the Royal institutions, sovereignty, autonomy and integrity of the country's jurisdiction. The state must be armed with military force, ammunitions, adequate and advance technologies to defend the autonomy, sovereignty, state security, Royal institutions, national interests, and the Constitutional Monarchy as well as country's development." Also, several other articles in the constitution have confirmed the centripetal culture as the national security. The 2007's Constitution has passed the national referendum to confirm the national agreement that the whole nation intends to preserve such national security culture in which the King is the head and inviolable.
Thailand has never been a colony or under protectorate of any country. Thailand is a small country which has continuously preserved her autonomy because of the culture in which the King is the head and the centripetal embodiment of the whole nation. National assimilation, taking over a nation, total annihilaton may be possible following an unfair election, electoral frauds and undemocratic environment as defined against "democracy".
Since integration of races is unforbidable, Thai-born of other races from rich countries or super power may become a prime minister of Thailand through an election. Either domestic Thai or Thai-born person can afford to win an election. The source of fund cannot be traced because there is no effective organization to vertify and control the source of fund imported for electoral frauds.
Attempts of present Thai politicians to win elections evidently are only racing toward Thai national treasures and country's center of power. Whereever there is a conflict between immoral exercise of authority against impeding moral senior governmental officials, there would be a purge to get them out of the way or bribery to satisfy their greeds, exploiting and sharing national treasures in between themselves.
Such elections to access Thai treasures and power, thus, could result in the administors who could be traitors and saboteurs. Evidently, for example, a Peruvian nationality of Japanese inheritance President of Peru won an election and recovered Peruvian economy but committed corruptions and human rights abuses. He fled from the country to seek sanctuary in Japan.
The most effective means of sabotaging national security are eradication of the psychological culture of loyalty, respect and worship of the King and Royal institutions. Lese Majesty against the King and Royal institutions to instigate hatred and feud is not only to the Royalty but also to the Thai culture and national security.
The criminal offence against article 112 is therefore not only an offence toward the reputation and dignity of the King and Royal institutions, but also an offence against the culture and national security. Consequently, article 112 is enacted in the Criminal Codes Act, Section of Offences Against the Security of the Kingdom which possesses severe penalties to match the crimes.
2. The criminal offence against article 112 possesses penalties in accordance with Humanitarian principles as defined by International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights.
The UN High Commissioner for Human Rights issue an international treaty for human rights in economy, society, and culture which accepts cultural rights as defined in the preamble of the treaty, "everyone may enjoy his economic, social, and cultural rights, as well as his civil and political rights". Also, articles 1 and 15 say, "The States Parties to present Covenant Recognize the right of everyone:(a) to take part in cultural life". Thus, the Criminal Codes Act article 112 is in accordance with the treaty for human rights in culture and must be supported by the UN High Commissioner for Human Rights.
The claim by the UN High Commissioner for Human Rights of the unjustifiability of Lese Majesty law, consequently supports a group of people who want to undermine Thai culture and national security. Since Thailand is a member of the treaty, such claim by the UN High Commissioner for Human Rights and an ambassador may be considered instigating division of the society and Thai citizens, which is against the principles of human rights because such claim destroys peaceful coexistence of the citizens of a member of UN, and violates international conventions as well as the United Nations Charter.
3. Ar Kong and Joe Gordon's deeds are violation of human rights principles as stipulated by International Covenant on Civil and Political Rights, Article 17, 19
Article 17
1. No one shall be subjected to arbitrary or unlawful interference with his privacy, family, home or correspondence, nor to unlawful attacks on his honour and reputation.
2. Everyone has the right to the protection of the law against such interference or attacks.
Article 19
1. Everyone shall have the right to hold opinions without interference.
2. Everyone shall have the right to freedom of expression; this right shall include freedom to seek, receive and impart information and ideas of all kinds, regardless of frontiers, either orally, in writing or in print, in the form of art, or through any other media of his choice.
3. The exercise of the rights provided for in paragraph 2 of this article carries with it special duties and responsibilities. It may therefore be subject to certain restrictions, but these shall only be such as are provided by law and are necessary:
(a) For respect of the rights or reputations of others;
(b) For the protection of national security or of public order (ordre public), or of public health or morals.
Thus, the International Covenant on Civil and Political Rights does not give freedom of expression. Instead, it is an international covenant to protect human rights of victims and the national security, public order, public health and morality of the public of member nations because the covenant permits member nations to enact laws to protect the rights and reputations of others as well as the national security, public order, public health and morality.
Thailand has enacted the laws accordingly to protect the rights and reputations of others as well as the security of the Kingdom of Thailand, public order, public health and morality, in article 45 of the Constitution which states,"Every person has freedom of expression, speech, writing, printing, press, and any communication means. Restriction of the rights in the first clause is not permitted except provided by the laws to protect the state security; rights, freedom, dignity, reputation, family and privacy rights of others; or to protect public peace, order and morality; or to protect public psychological or physical health. "
Moreover, the constitution stipulates the limitation of anyone exercising of the rights and freedom to protect the culture and security of the country in article 68, "No one shall be allowed to exercise the rights and freedom as stipulated by the constitution to aboish the Constitutional Monarchy." Since Thailand has the constitution to protect the culture and national security which is in agreement with the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights and the International Covenant on Civil and Political rights, Thai courts sentencing of "Ar Kong case" and "Joe Gordon case" are, as a result,in accordance with international human rights principles and on humanitarian grounds.
4. The court proceedings in "Ar Kong case" and "Joe Gordon case" are based on rightful ground and justness which follow principles of human rights of both the defendants and the victim, head of the country, because human rights do not limit only to the defendants and convicts but also include the victims' human rights.
The offence in these cases are against the head of the country as well as the undermining of the national culture which can be considered as attempting to abolish Constitutional Monarchy system. Thus, it is of a national security concern and all people who possess the culture of the King as the head of the Kingdom may be considered having their human rights violated. (Everyone may enjoy his cultural right.) Therefore, the people has the right to accuse persons or political parties which commit an abolition of national security related culture. The people have the rights to submit a complaint to the attorney general to investigate and proceed to filing to the Constitutional Court to cease such violation by themselves. (even without the attorney general's conclusion--Supreme Court Judge Yindee's opinion) because it is so crucial to protect the nation's catastrophe resulting from the abolition of national security related culture. If it is a case of a political party who commits such offence, the people may not file a complaint to the Constitutional Court but the court may order a disband of the party and its politician's political rights, if the court sees appropriate, as stipulated by the constitution article 68.
5. Why a foreign Ambassador and the UN High Commissioner for Human Rights come out in "Ar Kong case" and "Joe Gordon case", may be because of inadequate knowledge of Thai culture. The foreign ministry has the duty to explain this to foreigners because it involves national prides and sovereignty, and could affect the administration of the court, the government and the house of legislation as well as the Royal Thai army which have to protect the Kingdom's security.
If the foreign ministry ignores such explanation, or if it cannot explain to the foreign nations and international organizations, for whatever reasons, the Bureau of the Court of Justice should explain through the foreign ministry or advise the foreign ministry to proceed accordingly. If the misunderstanding is ignored, the roles of foreign nations and international organizations may turn to be severe internal national security as well.
Original Article in Thai
By Supreme Court Judge Yindee Watcharapong Torsuwan
December 15, 2011
Translated with slight modification, if any errors are present, they belong to Ronayos.
เปิดพิมพ์เขียวกยน. แผนแก้ "มหาอุทกภัย"
จากปัญหาอุทกภัยปี 2554 ที่เกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้าง
จึงจำเป็นต้องจัดทำแผนการบริหาร
จัดการน้ำในระยะเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตน้ำของประเทศที่อาจจะเกิดขึ้น
ในฤดูฝนหน้า เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ฟื้นความเชื่อถือ
สร้างความมั่นใจให้ประชาชน เกษตรกร ภาคธุรกิจ และนักลงทุนใน
นิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบตลอดจนสร้างความมั่นคงของประเทศจากวิกฤต
อุทกภัย
โดยมีหลักการดังนี้
1.ลดระดับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากน้ำท่วมปี 2554 กรณีที่ปริมาณน้ำปี 2555 มีปริมาณมาก จะต้องไม่เกิดปัญหาอุทกภัยเช่นในปี 2554 และหากเกิดปัญหาอุทกภัยจะต้องลดผลกระทบจากอุทกภัยต่อเศรษฐกิจและสังคมให้ น้อยที่สุด
2.ปรับปรุงการบริหารจัดการเขื่อนหลัก โดยบริหารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำสำคัญๆ จะพิจารณาให้ครอบคลุมทั้งด้านการชลประทาน การป้องกัน และบรรเทาอุทกภัย
3.ปรับปรุงอาคารบังคับน้ำชลประทาน คันกั้นน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้สามารถป้องกันน้ำท่วม และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ เพื่อให้สามารถจัดการน้ำตามแผนที่วางไว้
4.ชดเชยให้กับพื้นที่รับน้ำเกษตรกรรม การผันน้ำเข้าพื้นที่เกษตรกรรมในกรณีน้ำหลากเพื่อหน่วงน้ำและลดผลกระทบที่ เกิดจากน้ำท่วม ผลกระทบและความเสียหายในพื้นที่ดังกล่าว ต้องมีแนวทางในการเสริมสร้างความเข้าใจ ความยอมรับ และชดเชยความเสียหายให้ประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งให้ประชาชนในพื้นที่มั่นใจว่าจะไม่ต้องรับภาระฝ่ายเดียว
5.ปรับปรุงกลไกในการบริหารจัดการภัยจากน้ำท่วม โดยพัฒนาระบบข้อมูลการพยากรณ์ การเตือนภัย ที่น่าเชื่อถือ และมีเอกภาพ รวมทั้งองค์การในการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต เพื่อสามารถบริหารจัดการน้ำได้อย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
6.จัดทำแผนการแก้ปัญหาอุทกภัยเฉพาะพื้นที่ที่มีความสำคัญเพราะแต่ละ พื้นที่มีสภาพพื้นที่ ปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน จึงต้องมีแผนเฉพาะพื้นที่ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่นั้นๆ เช่น พื้นที่ชุมชน เมืองหลัก ธุรกิจ และอุตสาหกรรม เป็นต้น
1.การดำเนินการด้านวิศวกรรม
1.1 ปรับแผนการบริหารน้ำในเขื่อนสำคัญ โดยการปรับปรุง Rute Curve สะท้อนความสำคัญของการป้องกันน้ำท่วม โดยหน่วยงานรับผิดชอบ คือ กรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมอุตุนิยมวิทยา ฯลฯ ร่วมกับคณะอนุกรรม การติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำ ให้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 กำหนดพื้นที่รับน้ำนอง ตั้งแต่เขื่อนหลัก ในภาคเหนือ ตลอดจนสองฝั่งของลุ่มน้ำเจ้าพระยา รวมทั้งกรุงเทพมหานคร-ปริมณฑล โดยกำหนดพื้นที่รับน้ำนองตามธรรมชาติและที่ก่อสร้างขึ้น พร้อมจัดทำแผนการผันน้ำลงสู่พื้นที่รับน้ำนอง การจ่ายค่าชดเชยความเสียหาย รวมทั้งสร้างความเข้าใจความยอมรับกับประชาชนในพื้นที่โดยกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.3 ซ่อมแซมอาคารบังคับน้ำให้มีประสิทธิภาพ โดยปรับปรุง ซ่อมแซมและก่อสร้างอาคารชลประ ทาน โดยกรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.4 เสริมคันกั้นน้ำตามแนวพระราชดำริ โดยการปรับปรุง ซ่อมแซม ก่อสร้างคันกั้นน้ำ ให้เป็นคันกั้นน้ำถาวร โดยกรมชลประทาน กรุงเทพ มหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.5 ปรับปรุงคูคลอง และทำความสะอาดทางน้ำสาธารณะ โดยการขุดลอก คูคลองและท่อระบายน้ำ รวมทั้งกำจัดวัชพืชที่ขวางทางน้ำไหลซึ่งต้องศึกษาขอบเขตและข้อจำกัดของข้อ กฎหมายที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานต่างๆ และดำเนินการร่วมกันอย่างบูรณาการ โดยกรมชลประทานกรุงเทพมหา นคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.6 สำรวจขีดความสามารถการระบายน้ำของกรุงเทพมหานคร และประสิทธิภาพการระบายน้ำ โดยการใช้ระบบท่อระบายน้ำ คลองระบายน้ำ อุโมงค์ระบายน้ำ ปั๊มน้ำ และระบบระบายน้ำใหญ่ที่มีอยู่ โดยกรุงเทพมหานคร รับผิดชอบ
2.การบริหารจัดการภัยจากน้ำท่วม
เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินจากอุทกภัย ประกอบด้วย
2.1 สร้างระบบเตือนภัยที่มีเอกภาพ มีประสิทธิ ภาพ สามารถให้ข้อมูลอย่างต่อเนื่องและประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อประโยชน์ในการเตือนภัยจากน้ำท่วมซึ่งจะต้องมีเอกภาพ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่มีข้อมูลระบบเตือนภัย ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรุงเทพ มหานคร และศูนย์เตือนภัยพิบัตแห่งชาติ ฯลฯ เพื่อประมวลผลด้วยความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีประสิทธิภาพในการเตือนภัยสาธารณชนอย่างทันเวลา ทั้งนี้ ควรมอบหมายให้ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติเป็นหน่วย งานหลักในการแจ้งเตือนภัยต่อประชาชน รวมทั้งสร้างความเข้าใจกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และพิจารณาความจำเป็นของการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลน้ำแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในการเตือนภัย
2.2 จัดให้มีกลไกการบริหารจัดการอาคารบังคับน้ำเมื่อเกิดวิกฤต ในการบริหารจัดการน้ำในแหล่งต่างๆ ทั้งที่ถูกสร้างขึ้นและแหล่งน้ำธรรมชาติเครื่องมือที่ใช้ควบคุมระดับน้ำและ ปริมาณน้ำ คือ อาคารบังคับน้ำต่างๆ ได้แก่ เขื่อน ประตูระบายน้ำ ฝาย อย่างไรก็ดี อาคารบังคับน้ำต่างๆ อยู่ภายใต้การดูแลของหลายหน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรม ชลประทาน กรุงเทพมหานคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น ซึ่งจำเป็นต้องมีกลไกที่มีอำนาจเต็มในการสั่งการและบริหารจัดการน้ำอย่าง ครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งรวมถึงการศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและการบรรเทาผลกระทบอันเนื่องมาจาก วิกฤตน้ำ ซึ่งจะทำให้มีการบูรณาการการทำงานอย่างมีเอกภาพ มอบหมายให้กรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักดำเนินงาน
2.3 จัดทำแผนลดความเสียหายเฉพาะพื้นที่ ได้แก่ ชุมชน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่สำคัญ เขตชุมชนหนาแน่น กรุงเทพมหานครชั้นใน เพื่อให้เกิดแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การให้ข้อมูลข่าวสาร การแจ้งเตือน การอพยพ การเตรียมพื้นที่รองรับ การจัดระบบขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคฉุกเฉิน และการเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ให้เร็วที่สุด โดยจัดตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามความเหมาะสม
2.4 จัดตั้งองค์กรบริหารจัดการน้ำเป็นการเร่งด่วน เพื่ออำนวยการและสั่งการในภาวะฉุกเฉิน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อให้เกิดเอกภาพในการแก้ปัญหาอุทกภัย ระยะเร่งด่วน ตามแผนการบริหารจัดการกับน้ำท่วม ตั้งแต่แจ้งเตือนภัย การบริหารจัดการอาคารระบายน้ำ การดำเนินการตามแผนลดความเสี่ยงเฉพาะพื้นที่
โดยมอบหมายสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และอนุกรรมการวางระบบการบริหารจัดการน้ำระยะเร่งด่วน เป็นหน่วยงานหลักดำเนินงาน
ที่มา : matichon.co.th
โดยเฉพาะกับนักลงทุนญี่ปุ่น ซึ่งเป็นนักลงทุนรายใหญ่ของประเทศนั้น นายวีรพงษ์ พร้อมด้วย นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) ได้ให้ความสำคัญพิเศษ บินไป "โรดโชว์" เมื่อปลายเดือนพ.ย.ที่ผ่านมา
เนื้อหาหลักของแผนจะมีทั้งระยะสั้นและระยะยาว ที่จะดำเนินการควบคู่กันไป
โดยในระยะสั้น จะเร่งสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนและนักลงทุนก่อนว่า ฤดูฝนปี 2555 จะมีการบริหารจัดการนำเพื่อมิให้เกิดวิกฤตอุทกภัยอีก และรัฐมีการลงทุนที่จำเป็น เพื่อป้องกันความเสียหายใน "พื้นที่เสี่ยง" และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจสูง เช่น พื้นที่อุตสาหกรรมสำคัญ พื้นที่เมืองและชุมชนหนาแน่น
ทั้งนี้ แผนระยะสั้นจะเสร็จภายใน 3 เดือน เพื่อให้เกิดยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาเร่งด่วนในช่วง 1 ปีข้างหน้า พร้อมประสานกับผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมเพื่อสร้างเขื่อนป้องกันน้ำท่วม ภายในนิคมอย่างน้อย 7 แห่งในพื้นที่ภาคกลาง ซึ่งรัฐจัดหาเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำพิเศษในวงเงิน 1.5 หมื่นล้านบาท
รวมถึงซ่อมแซมถนน สะพาน และสาธารณูปโภคให้กลับสู่ปกติโดยเร็ว เนื่องจากเส้นทางเหล่านี้ใช้ในการลำเลียงผลผลิต วัตถุดิบ และสินค้าจากโรงงาน กระจายไปส่งยังท่าเรือหรือสนามบิน
ส่วนเป้าหมายระยะยาว ได้แก่ การพัฒนาประเทศเพื่อลดความเสี่ยงอุทกภัยอย่าง "ถาวร" ซึ่งอาจใช้วงเงินลงทุนหลายแสนล้านบาท ทุ่มลงไปในระบบการบริหารจัดการน้ำ โครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเมืองและพื้นที่อุตสาหกรรม การปรับระบบการผลิตภาคอุตสาหกรรมและเกษตร การปรับปรุงกฎระเบียบภาครัฐที่เกี่ยวข้อง การจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อให้เหมาะสมกับวินัยการคลัง การดูแลให้เกิดการลงทุนและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนและนักลงทุนมั่นใจในแผนการสร้างอนาคต ของประเทศอย่างต่อเนื่อง
สำหรับการจัดหาแหล่งเงินทุนนั้น นายวีรพงษ์ มองว่า ไม่จำเป็นต้องพึ่งพางบประมาณแผ่นดินเพียงอย่างเดียว แต่ควรมีทางเลือก เช่น การระดมทุนจากตลาดทุน ผ่านกองทุนโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Fund) การออกกฎหมายพิเศษกู้เงินเพื่อการพัฒนา การพิจารณาการใช้ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ เพื่อร่วมลงทุนกับเอกชนในโครงสร้างที่่มีผลตอบแทนเชิงพาณิชย์ เป็นต้น
ในส่วนการช่วยผู้ประกอบการขณะนี้ มีเงินอัดฉีดจากธนาคารออมสินให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำฟื้นฟูสภาพคล่อง 5 หมื่นล้านบาท และสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัยอีก 1.5 หมื่นล้านบาท สำหรับนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่งที่ประสบภัย ต้องการสร้างแนวเขื่อนถาวร รวมถึงระบบการระบายน้ำที่ดีขึ้น
หลังจากที่ผ่านมาจะเห็นการสู้กับน้ำของบรรดานิคมอุตสาหกรรมเหล่านี้ เป็นไปตามยถากรรม คือการใช้กระสอบทรายและคันดิน กั้นน้ำที่ไหลบ่าเข้ามาทางตรง แต่ไม่สามารถหยุดยั้งน้ำที่ไหลเข้ามาทางระบบท่อได้
พร้อมกันนั้น กยอ.เห็นว่า รัฐบาลอาจจำเป็นต้องมีการตั้งองค์กรถาวรขึ้นมาเพื่อผลักดันแนวทางตาม ยุทธศาสตร์ และประสานกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ เอกชน และต่างประเทศ เบื้องต้น ให้อยู่กับสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือสภาพัฒน์ ไปก่อน
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการกยอ. ซึ่งมาจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลายภาคส่วน ยังมีความเห็นหลากหลายต่อการฟื้นฟูสภาพความเสียหายครั้งนี้ อาทิ การผลักดันวิกฤตให้เป็นโอกาส ด้วยการวางแผนใช้พื้นที่รับน้ำเป็นแหล่งสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว เหมือนที่สาธารณรัฐเกาหลีดำเนินการภายใต้โครงการ Four Rivers Project
นอกจากนั้น ในการพิจารณาลงทุนสำหรับอนาคต ควรวางแผนในระยะเวลาที่ยาวกว่าแผนทั่วไป เช่น กรณีของญี่ปุ่นและเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่อยู่ใกล้ทะเล และพื้นที่ค่อนข้างต่ำ จะวางแผนเพื่ออนาคต 50-100 ปี ด้วยซ้ำ เพราะหลังจากนี้ สถานการณ์น้ำท่วมจะเกิดในประเทศไทยบ่อยครั้งขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
ขณะเดียวกัน ควรมีการปรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ เนื่องจากแผนเหล่านี้จัดทำขึ้นก่อนเกิดวิกฤตมหาอุทกภัย หากไม่แก้ไขจะทำใหกลไกการทำงานไม่สอดประสานกัน
สิ่งที่กยอ.หวั่นเกรงต่อมาก็คือเรื่่องการต่ออายุประกันภัย เนื่องจากวิกฤตครั้งนี้บริษัทประกันภัยในประเทศและประกันต่อต่างประเทศ เสียหายต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนจำนวนมาก
ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนี้คือผู้ประกอบการไม่สามารถต่ออายุกรมธรรม์ทั้งฉบับ ต้องมีการแยกส่วนกรมธรรม์อุทกภัยออกมา และใช้วิธีการกำหนดสัดส่วนวงเงินเอาประกันขึ้นกับการตกลงกัน ซึ่งเท่ากับว่าผู้เอาประกันจะจ่ายเบี้ยแพงขึ้นและได้รับการชดเชยที่ต่ำลง
ภาครัฐจึงต้องเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่บริษัทประกันภัยขนาดใหญ่ด้วยว่า จะไม่ทำให้ความเสี่ยงจากน้ำท่วมใหญ่เกิดขึ้นอีก โดยเฉพาะในนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่งที่มีผู้ประกอบการและนักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุน เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นครั้งนี้ทำให้บริษัทประกัน "เจ็บหนัก"
โดยจากการสำรวจของคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) พบว่า ภาคอุตสาหกรรมและครัวเรือนมีจำนวนเงินเอาประกันทั้งสิ้น 745,353 ล้านบาท ซึ่งเบื้องต้น คาดว่า ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย 30% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย คิดเป็น่าสินไหมทดแทนจำนวน 217,000 ล้านบาท
แบ่งออกเป็น ภาคอุตสาหกรรมทั้งในและนอกนิคมอุตสาหกรรม มีจำนวนเงินเอาประกันภัย 688,926 ล้านบาท ประมาณการค่าสินไหมทดแทนจำนวน 200,000 ล้านบาท และภาคครัวเรือน ซึ่งประกอบด้วยประกันภัยรถยนต์ บ้าน และร้านค้าพาณิชยกรรม มีจำนวนเงินเอาประกันภัย 56,572 ล้านบาท ประมาณการค่าสินไหมทดแทนจำนวน 17,000 ล้านบาท
จากการหารือระหว่างผู้บริหารคปภ.และบริษัทประกันวินาศภัย 68 แห่ง พบว่า การรับประกันภัยในประเทศไทยได้มีการทำสัญญาประกันภัยต่อกับต่างประเทศ มากกว่า 90% ซึ่งจากสัญญาประกันภัยต่อทั้งหมด ได้มีการประกันภัยต่อกับญี่ปุ่น 60% โดยบริษัทประกันภัยต่อญี่ปุ่นได้ยืนยันการจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา กรมธรรม์อย่างรวดเร็ว สำหรับบริษัทประกันภัยรายอื่น คาดว่าจะไม่มีปัญหาในการจ่ายค่าสินไหมทดแทน
อย่างไรก็ตาม คปภ. เชื่อว่า ในปี 2555 จะมีภาคครัวเรือนและเอสเอ็มอี ต้องการทำประกันอุทกภัยมากขึ้น ขณะที่ผู้รับประกันภัยจะคิดเบี้ยประกันสูงขึ้น จนเกินกว่าเพดานเบี้ยมาตรฐานที่ทางคปภ.กำหนดไว้ พร้อมจำกัดขอบเขตความรับผิดชอบหากเกิดความเสียหาย หรือ "เลวร้ายที่สุด" คือบริษัทประกันปฏิเสธการรับทำประกันประเภทนี้
ดังนั้น คปภ.จึงต้องการให้ภาครัฐควรเข้ามามีส่วนร่วมในกลไกการรับประกันภัย เพื่อให้อัตราเบี้ยประกันอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งขณะนี้คปภ. ได้ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง พิจารณารูปแบบใหม่อยู่
โมเดลการแก้ฟื้นฟูปัญหาอุทกภัยครั้งนี้ จะสำเร็จหรือไม่คงไม่ต้องประเมินกันทุก 3-6 เดือน หลังจากเหตุการณ์น้ำท่วมเข้ามาจ่อคอหอยประชาชนและภาคธุรกิจอย่างทั่วหน้า แต่ปัญหาคือแนวทางของคณะกรรมการชุดนี้จะมีผลในทางปฏิบัติเร็วแค่ไหนเท่านั้น
โดยมีหลักการดังนี้
1.ลดระดับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากน้ำท่วมปี 2554 กรณีที่ปริมาณน้ำปี 2555 มีปริมาณมาก จะต้องไม่เกิดปัญหาอุทกภัยเช่นในปี 2554 และหากเกิดปัญหาอุทกภัยจะต้องลดผลกระทบจากอุทกภัยต่อเศรษฐกิจและสังคมให้ น้อยที่สุด
2.ปรับปรุงการบริหารจัดการเขื่อนหลัก โดยบริหารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำสำคัญๆ จะพิจารณาให้ครอบคลุมทั้งด้านการชลประทาน การป้องกัน และบรรเทาอุทกภัย
3.ปรับปรุงอาคารบังคับน้ำชลประทาน คันกั้นน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้สามารถป้องกันน้ำท่วม และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ เพื่อให้สามารถจัดการน้ำตามแผนที่วางไว้
4.ชดเชยให้กับพื้นที่รับน้ำเกษตรกรรม การผันน้ำเข้าพื้นที่เกษตรกรรมในกรณีน้ำหลากเพื่อหน่วงน้ำและลดผลกระทบที่ เกิดจากน้ำท่วม ผลกระทบและความเสียหายในพื้นที่ดังกล่าว ต้องมีแนวทางในการเสริมสร้างความเข้าใจ ความยอมรับ และชดเชยความเสียหายให้ประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งให้ประชาชนในพื้นที่มั่นใจว่าจะไม่ต้องรับภาระฝ่ายเดียว
5.ปรับปรุงกลไกในการบริหารจัดการภัยจากน้ำท่วม โดยพัฒนาระบบข้อมูลการพยากรณ์ การเตือนภัย ที่น่าเชื่อถือ และมีเอกภาพ รวมทั้งองค์การในการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต เพื่อสามารถบริหารจัดการน้ำได้อย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
6.จัดทำแผนการแก้ปัญหาอุทกภัยเฉพาะพื้นที่ที่มีความสำคัญเพราะแต่ละ พื้นที่มีสภาพพื้นที่ ปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน จึงต้องมีแผนเฉพาะพื้นที่ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่นั้นๆ เช่น พื้นที่ชุมชน เมืองหลัก ธุรกิจ และอุตสาหกรรม เป็นต้น
แนวทางการบริหารจัดการน้ำระยะเร่งด่วน
ที่สำคัญมีดังนี้1.การดำเนินการด้านวิศวกรรม
1.1 ปรับแผนการบริหารน้ำในเขื่อนสำคัญ โดยการปรับปรุง Rute Curve สะท้อนความสำคัญของการป้องกันน้ำท่วม โดยหน่วยงานรับผิดชอบ คือ กรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมอุตุนิยมวิทยา ฯลฯ ร่วมกับคณะอนุกรรม การติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำ ให้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 กำหนดพื้นที่รับน้ำนอง ตั้งแต่เขื่อนหลัก ในภาคเหนือ ตลอดจนสองฝั่งของลุ่มน้ำเจ้าพระยา รวมทั้งกรุงเทพมหานคร-ปริมณฑล โดยกำหนดพื้นที่รับน้ำนองตามธรรมชาติและที่ก่อสร้างขึ้น พร้อมจัดทำแผนการผันน้ำลงสู่พื้นที่รับน้ำนอง การจ่ายค่าชดเชยความเสียหาย รวมทั้งสร้างความเข้าใจความยอมรับกับประชาชนในพื้นที่โดยกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.3 ซ่อมแซมอาคารบังคับน้ำให้มีประสิทธิภาพ โดยปรับปรุง ซ่อมแซมและก่อสร้างอาคารชลประ ทาน โดยกรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.4 เสริมคันกั้นน้ำตามแนวพระราชดำริ โดยการปรับปรุง ซ่อมแซม ก่อสร้างคันกั้นน้ำ ให้เป็นคันกั้นน้ำถาวร โดยกรมชลประทาน กรุงเทพ มหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.5 ปรับปรุงคูคลอง และทำความสะอาดทางน้ำสาธารณะ โดยการขุดลอก คูคลองและท่อระบายน้ำ รวมทั้งกำจัดวัชพืชที่ขวางทางน้ำไหลซึ่งต้องศึกษาขอบเขตและข้อจำกัดของข้อ กฎหมายที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานต่างๆ และดำเนินการร่วมกันอย่างบูรณาการ โดยกรมชลประทานกรุงเทพมหา นคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมรับผิดชอบ
1.6 สำรวจขีดความสามารถการระบายน้ำของกรุงเทพมหานคร และประสิทธิภาพการระบายน้ำ โดยการใช้ระบบท่อระบายน้ำ คลองระบายน้ำ อุโมงค์ระบายน้ำ ปั๊มน้ำ และระบบระบายน้ำใหญ่ที่มีอยู่ โดยกรุงเทพมหานคร รับผิดชอบ
2.การบริหารจัดการภัยจากน้ำท่วม
เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินจากอุทกภัย ประกอบด้วย
2.1 สร้างระบบเตือนภัยที่มีเอกภาพ มีประสิทธิ ภาพ สามารถให้ข้อมูลอย่างต่อเนื่องและประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อประโยชน์ในการเตือนภัยจากน้ำท่วมซึ่งจะต้องมีเอกภาพ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่มีข้อมูลระบบเตือนภัย ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรุงเทพ มหานคร และศูนย์เตือนภัยพิบัตแห่งชาติ ฯลฯ เพื่อประมวลผลด้วยความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีประสิทธิภาพในการเตือนภัยสาธารณชนอย่างทันเวลา ทั้งนี้ ควรมอบหมายให้ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติเป็นหน่วย งานหลักในการแจ้งเตือนภัยต่อประชาชน รวมทั้งสร้างความเข้าใจกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และพิจารณาความจำเป็นของการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลน้ำแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในการเตือนภัย
2.2 จัดให้มีกลไกการบริหารจัดการอาคารบังคับน้ำเมื่อเกิดวิกฤต ในการบริหารจัดการน้ำในแหล่งต่างๆ ทั้งที่ถูกสร้างขึ้นและแหล่งน้ำธรรมชาติเครื่องมือที่ใช้ควบคุมระดับน้ำและ ปริมาณน้ำ คือ อาคารบังคับน้ำต่างๆ ได้แก่ เขื่อน ประตูระบายน้ำ ฝาย อย่างไรก็ดี อาคารบังคับน้ำต่างๆ อยู่ภายใต้การดูแลของหลายหน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรม ชลประทาน กรุงเทพมหานคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น ซึ่งจำเป็นต้องมีกลไกที่มีอำนาจเต็มในการสั่งการและบริหารจัดการน้ำอย่าง ครอบคลุมในทุกมิติ ซึ่งรวมถึงการศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและการบรรเทาผลกระทบอันเนื่องมาจาก วิกฤตน้ำ ซึ่งจะทำให้มีการบูรณาการการทำงานอย่างมีเอกภาพ มอบหมายให้กรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักดำเนินงาน
2.3 จัดทำแผนลดความเสียหายเฉพาะพื้นที่ ได้แก่ ชุมชน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่สำคัญ เขตชุมชนหนาแน่น กรุงเทพมหานครชั้นใน เพื่อให้เกิดแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การให้ข้อมูลข่าวสาร การแจ้งเตือน การอพยพ การเตรียมพื้นที่รองรับ การจัดระบบขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคฉุกเฉิน และการเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ให้เร็วที่สุด โดยจัดตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามความเหมาะสม
2.4 จัดตั้งองค์กรบริหารจัดการน้ำเป็นการเร่งด่วน เพื่ออำนวยการและสั่งการในภาวะฉุกเฉิน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อให้เกิดเอกภาพในการแก้ปัญหาอุทกภัย ระยะเร่งด่วน ตามแผนการบริหารจัดการกับน้ำท่วม ตั้งแต่แจ้งเตือนภัย การบริหารจัดการอาคารระบายน้ำ การดำเนินการตามแผนลดความเสี่ยงเฉพาะพื้นที่
โดยมอบหมายสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และอนุกรรมการวางระบบการบริหารจัดการน้ำระยะเร่งด่วน เป็นหน่วยงานหลักดำเนินงาน
ที่มา : matichon.co.th
กยอ.ยึดโมเดลญี่ปุ่น-เนเธอร์แลนด์ วางแผนลงทุนสู้อุทกภัย 100 ปี
-
เขียนโดย Thaireform
เปิดพิมพ์เขียวลงทุนบริหารจัดการน้ำ ชุด วีรพงษ์ รางมางกูร เน้นฟื้นฟูนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่งสร้างความเชื่อมั่นญี่ปุ่น คาดใช้เงิน 1.5 หมื่นล้าน พร้อมพลิกวิฤตเป็นโอกาส ปรับพื้นที่รับน้ำสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจเหมือนเกาหลีโมเดล
คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ที่มีนายวีรพงษ์ รามางกูร อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ได้มีการสรุปกรอบ "มาตรการฟื้นฟูความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนต่างชาติ" ให้แก่น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อลบภาพฝันร้ายทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะกับนักลงทุนญี่ปุ่น ซึ่งเป็นนักลงทุนรายใหญ่ของประเทศนั้น นายวีรพงษ์ พร้อมด้วย นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) ได้ให้ความสำคัญพิเศษ บินไป "โรดโชว์" เมื่อปลายเดือนพ.ย.ที่ผ่านมา
เนื้อหาหลักของแผนจะมีทั้งระยะสั้นและระยะยาว ที่จะดำเนินการควบคู่กันไป
โดยในระยะสั้น จะเร่งสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนและนักลงทุนก่อนว่า ฤดูฝนปี 2555 จะมีการบริหารจัดการนำเพื่อมิให้เกิดวิกฤตอุทกภัยอีก และรัฐมีการลงทุนที่จำเป็น เพื่อป้องกันความเสียหายใน "พื้นที่เสี่ยง" และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจสูง เช่น พื้นที่อุตสาหกรรมสำคัญ พื้นที่เมืองและชุมชนหนาแน่น
ทั้งนี้ แผนระยะสั้นจะเสร็จภายใน 3 เดือน เพื่อให้เกิดยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาเร่งด่วนในช่วง 1 ปีข้างหน้า พร้อมประสานกับผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมเพื่อสร้างเขื่อนป้องกันน้ำท่วม ภายในนิคมอย่างน้อย 7 แห่งในพื้นที่ภาคกลาง ซึ่งรัฐจัดหาเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำพิเศษในวงเงิน 1.5 หมื่นล้านบาท
รวมถึงซ่อมแซมถนน สะพาน และสาธารณูปโภคให้กลับสู่ปกติโดยเร็ว เนื่องจากเส้นทางเหล่านี้ใช้ในการลำเลียงผลผลิต วัตถุดิบ และสินค้าจากโรงงาน กระจายไปส่งยังท่าเรือหรือสนามบิน
ส่วนเป้าหมายระยะยาว ได้แก่ การพัฒนาประเทศเพื่อลดความเสี่ยงอุทกภัยอย่าง "ถาวร" ซึ่งอาจใช้วงเงินลงทุนหลายแสนล้านบาท ทุ่มลงไปในระบบการบริหารจัดการน้ำ โครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเมืองและพื้นที่อุตสาหกรรม การปรับระบบการผลิตภาคอุตสาหกรรมและเกษตร การปรับปรุงกฎระเบียบภาครัฐที่เกี่ยวข้อง การจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อให้เหมาะสมกับวินัยการคลัง การดูแลให้เกิดการลงทุนและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนและนักลงทุนมั่นใจในแผนการสร้างอนาคต ของประเทศอย่างต่อเนื่อง
สำหรับการจัดหาแหล่งเงินทุนนั้น นายวีรพงษ์ มองว่า ไม่จำเป็นต้องพึ่งพางบประมาณแผ่นดินเพียงอย่างเดียว แต่ควรมีทางเลือก เช่น การระดมทุนจากตลาดทุน ผ่านกองทุนโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Fund) การออกกฎหมายพิเศษกู้เงินเพื่อการพัฒนา การพิจารณาการใช้ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ เพื่อร่วมลงทุนกับเอกชนในโครงสร้างที่่มีผลตอบแทนเชิงพาณิชย์ เป็นต้น
ในส่วนการช่วยผู้ประกอบการขณะนี้ มีเงินอัดฉีดจากธนาคารออมสินให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำฟื้นฟูสภาพคล่อง 5 หมื่นล้านบาท และสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัยอีก 1.5 หมื่นล้านบาท สำหรับนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่งที่ประสบภัย ต้องการสร้างแนวเขื่อนถาวร รวมถึงระบบการระบายน้ำที่ดีขึ้น
หลังจากที่ผ่านมาจะเห็นการสู้กับน้ำของบรรดานิคมอุตสาหกรรมเหล่านี้ เป็นไปตามยถากรรม คือการใช้กระสอบทรายและคันดิน กั้นน้ำที่ไหลบ่าเข้ามาทางตรง แต่ไม่สามารถหยุดยั้งน้ำที่ไหลเข้ามาทางระบบท่อได้
พร้อมกันนั้น กยอ.เห็นว่า รัฐบาลอาจจำเป็นต้องมีการตั้งองค์กรถาวรขึ้นมาเพื่อผลักดันแนวทางตาม ยุทธศาสตร์ และประสานกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ เอกชน และต่างประเทศ เบื้องต้น ให้อยู่กับสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือสภาพัฒน์ ไปก่อน
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการกยอ. ซึ่งมาจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลายภาคส่วน ยังมีความเห็นหลากหลายต่อการฟื้นฟูสภาพความเสียหายครั้งนี้ อาทิ การผลักดันวิกฤตให้เป็นโอกาส ด้วยการวางแผนใช้พื้นที่รับน้ำเป็นแหล่งสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว เหมือนที่สาธารณรัฐเกาหลีดำเนินการภายใต้โครงการ Four Rivers Project
นอกจากนั้น ในการพิจารณาลงทุนสำหรับอนาคต ควรวางแผนในระยะเวลาที่ยาวกว่าแผนทั่วไป เช่น กรณีของญี่ปุ่นและเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่อยู่ใกล้ทะเล และพื้นที่ค่อนข้างต่ำ จะวางแผนเพื่ออนาคต 50-100 ปี ด้วยซ้ำ เพราะหลังจากนี้ สถานการณ์น้ำท่วมจะเกิดในประเทศไทยบ่อยครั้งขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
ขณะเดียวกัน ควรมีการปรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ เนื่องจากแผนเหล่านี้จัดทำขึ้นก่อนเกิดวิกฤตมหาอุทกภัย หากไม่แก้ไขจะทำใหกลไกการทำงานไม่สอดประสานกัน
สิ่งที่กยอ.หวั่นเกรงต่อมาก็คือเรื่่องการต่ออายุประกันภัย เนื่องจากวิกฤตครั้งนี้บริษัทประกันภัยในประเทศและประกันต่อต่างประเทศ เสียหายต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนจำนวนมาก
ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนี้คือผู้ประกอบการไม่สามารถต่ออายุกรมธรรม์ทั้งฉบับ ต้องมีการแยกส่วนกรมธรรม์อุทกภัยออกมา และใช้วิธีการกำหนดสัดส่วนวงเงินเอาประกันขึ้นกับการตกลงกัน ซึ่งเท่ากับว่าผู้เอาประกันจะจ่ายเบี้ยแพงขึ้นและได้รับการชดเชยที่ต่ำลง
ภาครัฐจึงต้องเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่บริษัทประกันภัยขนาดใหญ่ด้วยว่า จะไม่ทำให้ความเสี่ยงจากน้ำท่วมใหญ่เกิดขึ้นอีก โดยเฉพาะในนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่งที่มีผู้ประกอบการและนักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุน เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นครั้งนี้ทำให้บริษัทประกัน "เจ็บหนัก"
โดยจากการสำรวจของคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) พบว่า ภาคอุตสาหกรรมและครัวเรือนมีจำนวนเงินเอาประกันทั้งสิ้น 745,353 ล้านบาท ซึ่งเบื้องต้น คาดว่า ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย 30% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย คิดเป็น่าสินไหมทดแทนจำนวน 217,000 ล้านบาท
แบ่งออกเป็น ภาคอุตสาหกรรมทั้งในและนอกนิคมอุตสาหกรรม มีจำนวนเงินเอาประกันภัย 688,926 ล้านบาท ประมาณการค่าสินไหมทดแทนจำนวน 200,000 ล้านบาท และภาคครัวเรือน ซึ่งประกอบด้วยประกันภัยรถยนต์ บ้าน และร้านค้าพาณิชยกรรม มีจำนวนเงินเอาประกันภัย 56,572 ล้านบาท ประมาณการค่าสินไหมทดแทนจำนวน 17,000 ล้านบาท
จากการหารือระหว่างผู้บริหารคปภ.และบริษัทประกันวินาศภัย 68 แห่ง พบว่า การรับประกันภัยในประเทศไทยได้มีการทำสัญญาประกันภัยต่อกับต่างประเทศ มากกว่า 90% ซึ่งจากสัญญาประกันภัยต่อทั้งหมด ได้มีการประกันภัยต่อกับญี่ปุ่น 60% โดยบริษัทประกันภัยต่อญี่ปุ่นได้ยืนยันการจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา กรมธรรม์อย่างรวดเร็ว สำหรับบริษัทประกันภัยรายอื่น คาดว่าจะไม่มีปัญหาในการจ่ายค่าสินไหมทดแทน
อย่างไรก็ตาม คปภ. เชื่อว่า ในปี 2555 จะมีภาคครัวเรือนและเอสเอ็มอี ต้องการทำประกันอุทกภัยมากขึ้น ขณะที่ผู้รับประกันภัยจะคิดเบี้ยประกันสูงขึ้น จนเกินกว่าเพดานเบี้ยมาตรฐานที่ทางคปภ.กำหนดไว้ พร้อมจำกัดขอบเขตความรับผิดชอบหากเกิดความเสียหาย หรือ "เลวร้ายที่สุด" คือบริษัทประกันปฏิเสธการรับทำประกันประเภทนี้
ดังนั้น คปภ.จึงต้องการให้ภาครัฐควรเข้ามามีส่วนร่วมในกลไกการรับประกันภัย เพื่อให้อัตราเบี้ยประกันอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งขณะนี้คปภ. ได้ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง พิจารณารูปแบบใหม่อยู่
โมเดลการแก้ฟื้นฟูปัญหาอุทกภัยครั้งนี้ จะสำเร็จหรือไม่คงไม่ต้องประเมินกันทุก 3-6 เดือน หลังจากเหตุการณ์น้ำท่วมเข้ามาจ่อคอหอยประชาชนและภาคธุรกิจอย่างทั่วหน้า แต่ปัญหาคือแนวทางของคณะกรรมการชุดนี้จะมีผลในทางปฏิบัติเร็วแค่ไหนเท่านั้น
กยอ.ประเมินความเสียหายภาคธุรกิจและครัวเรือนที่มีการทำประกันภัย
มาตรการฟื้นฟูและเยียวยาภาคอุตสาหกรรม
เปิดไส้ในละเอียดยิบดาวเทียมหมื่นล้าน “ปลอดประสพ” ประเดิมงวดแรกค่าจ้างที่ปรึกษา 6 ล้าน
กรณีนายปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ทำหนังสือถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหารือในการดำเนินโครงการพัฒนา ระบบดาวเทียมสำรวจโลกดวงที่ 2 ของประเทศไทยโดยจะนำเรื่องเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบ ในการดำเนินโครงการภายในเดือนธันวาคม 2554
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตั้งงบประมาณดำเนินโครงการไว้ที่ 10,000 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณผูกพัน 4 ปี
สำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) นำเอกสารแนบท้ายที่ระบุรายละเอียดโครงการมานำเสนอดังนี้
หลักการและเหตุผล ตอนหนึ่งระบุว่า
การดำเนินงานของดาวเทียม THEOS ที่ผ่านมา พบว่าก่อให้เกิดประโยชน์มากมายทั้งด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติและความมั่นคง โดยดาวเทียม THEOS ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้ในสาขาต่างๆ อาทิ ด้านการเกษตร/พืชเศรษฐกิจ การป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และการชลประทาน การผังเมือง การวางแผนพัฒนาจังหวัดและด้านความมั่นคง นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการติดตามและบรรเทาปัญหาด้านภัยพิบัติ ทางธรรมชาติต่างๆ รวมทั้งติดตามการเปลี่ยนแปลงตามแนวชายฝั่ง ทะเล ซึ่งทำให้สามารถนำข้อมูลมาแก้ไขภาวะวิกฤตได้อย่างทันต่อเหตุการณ์
ด้านภัยพิบัติ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทภอ.) ได้มีบทบาทในการจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม THEOS และดาวเทียม RADARSAT ของบริเวณที่ประสบภัยและส่งผลข้อมูลดังกล่าวให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา การฟื้นฟูพื้นที่และการพิจารณาเบิกจ่ายเงินเยียวยาให้กับผู้ได้รับความเสีย หายตมข้อเท็จจริงที่ตรวจสอบได้จากภาพถ่ายดาวเทียม ซึ่งทำให้รัฐบาลประหยัดงบประมาณของประเทศได้มากกว่า 4,000 ล้านบาท
นอกจากนี้ ในเดือนกันยายน-ตุลาคม 2554 ที่มีภาวะอุทกภัยครั้งร้ายแรงครอบคลุมพื้นที่เกือบทั่วประเทศไทย สทภอ.ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูลดาว เทียมและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการอำนวยการและ บริหารสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (คอส.) และศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (ศปภ.)
นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง
คณะรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) นายกรัฐมนตรี กำหนดนโยบายข้อ 6 นโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม ข้อ 6.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนการผลิตด้านการเกษตร การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
นอกจากนี้ข้อมูลจากดาวเทียมภูมิสารสนเทศยังเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการ ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลข้ออื่นๆ เช่น 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณราการ และเร่งรัดขยายพื้นที่ชลประทานข้อ 2 .4 พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ข้อ 5.1 อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ข้อ 5.7 สร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมในการรองรับและปรับตัวต่อผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและภัยพิบัติ
ความคุ้มค่าในการมีระบบดาวเทียมเป็นของประเทศไทย
การสำรวจข้อมูลด้วยดาวเทียม มีข้อได้เปรียบที่สำคัญคือ ดาวเทียมสามารถถ่ายภาพได้เป็นบริเวณกว้างในเวลาเดียวกัน (Simultaneous) และถ่ายภาพซ้ำบริเวณเดิมทำให้สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาซึ่ง เป็นข้อมูลสำคัญสำหรับการบริหารจัดการและการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายภาพบริเวณทุรกันดารหรือมความลำบากในการเข้าถึง ดังนั้นการมีดาวเทียมเป็นของตนเองจึงทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายต่างๆลงได้ ดังนี้
แนวทางในการดำเนินงาน
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ตระหนักว่าการพัฒนาดาวเทียมสำรวจโลก เป็นกิจกรรมที่ใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีเฉพาะทางที่มีความก้าวหน้าและใช้วิชาการหลายด้าน รวมทั้งมีองค์ประกอบหลายส่วน ทั้งภาคอวกาศ (ตัวดาวเทียม ,อุปกรณ์บันทึกภาพ ฯลฯ ) และภาคพื้นดิน (อุปกรณ์ควบคุมดาวเทียม ,รับสัญญาณ ,ผลิตข้อมูล ฯลฯ) ระบบการประมวลผลข้อมูลและแบบจำลอง และระบบการบริการข้อมูลและผลิตภัณฑ์ พร้อมใช้แบบครบวงจร ดังนั้นในการดำเนินโครงการนี้ สทอภ.จึงได้นำประสบการณ์จากการดำเนินโครงการพัฒนาดาวเทียม THEOS มาศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งประเมินข้อดีข้อเสียเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงเห็นควรจัดหาระบบดาวเทียมในรูปแบบ Engineering Procurement Construction –Satellite Solutions System (EPC-SSS) กล่าวคือคู่สัญญาจะต้องมีขีดความสามารถครบในทุกด้าน ตั้งแต่การสร้างดาวเทียม และระบบภาคพื้นดิน การส่งดาวเทียม การควบคุมดาวเทียม การพัฒนาระบบวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมและแบบจำลองเพื่อการพยากรณ์ต่างๆ การพัฒนาผลิตภัณฑ์พร้อมใช้และการพัฒนาธุรกิจโดยเฉพาะตลาดในต่างประเทศ โดยคู่สัญญาจะต้องรับผิดชอบต่อระบบดาวเทียมและระบบวิเคราะห์ข้อมูลและ พยากรณ์รวมทั้งระบบบริการผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตลอดอายุการใช้งาน เพื่อไม่ให้ วท.ต้องแบกภาระด้านการบำรุงรักษาและการปรับปรุงต่างๆในระยะยาว
รายละเอียดแผนงาน/โครงการ
แผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2555-2558 มีขั้นตอนการดำเนินงานทั้งหมด 17 ขั้นตอน เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบและขอผูกพันงบประมาณข้ามปี อยู่ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ,แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับดูแลโครงการพัฒนาดาวเทียมสำรวจโลกดวงที่ 2 และแต่งตั้งผู้จัดการโครงการอยู่ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ,ประกาศเชิญชวนหน่วยงานอยู่ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 , ลงนามในสัญญาเพื่อการดำเนินการพัฒนาระบบดาวเทียมสำรวจโลกอยู่ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555
งบประมาณ
งบประมาณรวมทั้งโครงการ 10,000 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณผูกพัน 4 ปี (ปี 2555-2558)
ปีงบประมาณ 2555 จำนวน 520 ล้านบาท กิจกรรมหลักได้แก่ ลงนามในสัญญา ออกแบบระบบดาวเทียม ระบบภาคพื้นดิน ระบบประมวลผลและแบบจำลอง และระบบบริการข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ
ปีงบประมาณ 2556 จำนวน 2,130 ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2557 จำนวน 3,220 ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2558 จำนวน 4,130 ล้านบาท
หมวดรายจ่ายสำหรับปีงบประมาณปี 2555 ทั้งหมด 520 ล้านบาท จำนวนนี้เป็นค่าจัดจ้างที่ปรึกษาโครงการ 6 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายงวดแรดหลังลงนามสัญญา 500 ล้านบาท
กล่าวสำหรับดาวเทียมธีออส รัฐบาลไทยได้ว่าจ้าง บริษัท เอียดส์ แอสเตรียม ประเทศฝรั่งเศส เป็นคู่สัญญา แต่ไม่สามารถยิงดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรได้ตามกำหนดภายในวันที่ 19 มกราคม 2551 กลับส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 เนื่องจากประสบปัญหาการเจรจากับประเทศคาซัคสถานที่ไม่ยินยอมให้เศษชิ้นส่วน ดาวเทียมตกยังประเทศ สำนักงานอัยการสูงสุดมีความเห็นว่าบริษัทคู่สัญญาต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่า เสียหายประมาณ 160 ล้านบาท
สมชาย : สหรัฐอย่าละเมิดความรู้สึกคนไทย
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
สมชาย แสวงการ ประธานกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา และในฐานะรองประธานคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญศึกษาติดตามการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับการพิทักษ์สถาบัน พระมหากษัตริย์ วุฒิสภา ให้สัมภาษณ์ เรียกร้องเอกอัครราชทูตสหรัฐ อย่าละเมิดความรู้สึกคนไทย
สมชาย เล่าประสบการณ์ที่ได้สัมผัสใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกา ว่า ผมคือคนที่สถานทูตสหรัฐเชิญให้ไปศึกษาดูงานสิทธิมนุษยชน และรัฐธรรมนูญ ของสหรัฐหลายรอบ ทำให้ผมทราบว่า สหรัฐเองต่างหากที่จะต้องรับฟังความคิดเห็นคนอื่นบ้าง
ในฐานะ รองประธานกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ วุฒิสภา สมชาย เล่าว่า วันนี้มีการประชุมกันในกรรมาธิการทุกคนเห็นตรงกันว่า จะทำหนังสือถึงเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย คริสตี้ เคนนี่ย์ เพราะเราเห็นว่าเป็นทูตคนใหม่ที่เพิ่งจะมาประจำประเทศไทย อาจจะต้องทำความเข้าใจใหม่ ทำความเข้าใจการปกครองของไทยตั้งแต่ปี 2475 เราเรียกการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เรามีกฎหมายคุ้มครองพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 2 'ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข' มาตรา 3 'อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม'
เรามีรัฐธรรมนูญคุ้มครองพระมหากษัตริย์ ก็เหมือนกับสหรัฐ ที่มีกฎหมายรัฐธรรมนูญไว้คุ้มครองผู้นำตัวเอง และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ไทยเราใช้คุ้มครองผู้นำของไทย เหมือนเขาคุ้มครองประธานาธิบดี โอบามา
รองประธานกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ วุฒิสภา กล่าวถึงการที่สหรัฐออกมาแสดงความเป็นห่วงเสรีภาพในประเทศไทย นั้น ในฐานะสมาชิกวุฒิสภา ยืนยันว่า ประเทศไทยมีเสรีภาพเหลือล้นมากกว่าสหรัฐ เพราะขนาดเหตุการณ์เสื้่อเหลือง เสื้อแดง ชุมนุมมีการถ่ายทอดสด ขณะที่สหรัฐ ถ่ายทอดสดการชุมนุมทางการเมืองไม่ได้ หรือการชุมนุมพักค้างอ้างแรม สหรัฐทำไม่ได้ สิ่งที่สหรัฐทำไม่ได้ คือชุมนุมแล้วปลุกระดมให้คนเผาบ้านเผาเมือง หรือวางระเบิด ยิงเอ็ม 79 กลางเมืองหลวง สหรัฐทำไม่ได้ แต่ประเทศไทยทำได้ และทำมาแล้ว
ผม เปรียบเทียบอย่างนี้ สหรัฐแค่เดินเข้าไปหน้าทำเนียบขาว ยังโดนหิ้วไปขัง หรือเหตุการณ์ 911 คนที่จะเข้าสหรัฐ ถูกจับแก้ผ้ามากต่อมาก สหรัฐจึงเป็นประเทศที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนมากที่สุด ในการตรวจค้นคนต่างชาติที่จะเดินทางเข้าสหรัฐ หรือในกรณีการทำสงครามอีรัก สถานีโทรทัศน์ซีเอ็นเอ็น ห้ามเสนอข่าวบางเรื่อง แต่ประเทศไทยกำลังสำลักเสรีภาพ เรามีวิทยุชุมชนกว่าหมื่รนสถานี มีมากว่าสหรัฐ
นายสมชาย กล่าวว่า การที่ไทยจะปกป้องมาตรา 112 ก็คือการปกป้องผู้นำ เหมื่อนคุณปกป้องผู้นำคุณเอง เอกอัครราชทูตสหรัฐต้องเข้าใจความหลากหลาย เรามีจารีต มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เรามีกฎหมายไว้ปกป้อง แต่ประเทศคุณ การเดินทางมาประเทศไทย ต้องส่งเครื่องบินมาล่วงหน้า ส่งรถลีมูซีน ส่งอาวุธหนักเข้ามา ยิ่งกว่าสงคราม เพื่ออะไร เพื่อคุ้มกันผู้นำของคุณ เวลานอนโรงแรม แขกคนอื่นยังถูกห้ามเข้าไปกินอาหารห้องเดียวกันกับผู้นำของคุณ เพราะคุณต้องการพิทักษ์ผู้นำประเทศคุณ ดังนั้น คุณต้องเคราพประเทศอื่นที่มีความหลากหลายทางขนบธรรมเนียม การอ้างการใช้สิทธิมนุษยชนตามหลักสหประชาชาติ แต่นั่นจะต้องไม่ละเมิดกฎหมายภายในประเทศ นั้นๆ ด้วย
ผมยกตัวอย่าง ประเทศสหรัฐ ที่อ้างตนเองว่าเป็นประเทศที่เคารพหลักสิทธิมนุษยชน มีกรณี เด็กหนุ่มชาวอังกฤษ ลุค แองเจิล วัย 17 ปี ส่งอีเมล์ไปด่า ประธานาธิบดี บารัค โอบามา เขาด่า โอบามาว่า "พริก" คำเดียวเท่านั้น สหรัฐให้ตำรวจอังกฤษไปจับ ลุค แองเจิล แต่ตำรวจอังกฤษก็ไม่ได้ตั้งข้อหาใดกับเด็กหนุ่มคนนี้ สหรัฐต่างหากที่ติดแบล็คลิสต์ห้าม ลุค แองเจิล เข้าสหรัฐตลอดชีวิต อย่างนี้จะเรียกว่าเคารพการแสดงความคิดเห็นตามหลักสิทธิมนุษยชนหรือไม่
เอก อัครราชทูตสหรัฐ ได้โปรดศึกษาวัฒนธรรมประเทศอื่นด้วย เพราะเสรีภาพที่คุณอ้างถึงนั้น ประชาชนคนไทยเห็นแล้วไม่สบายใจกับการละเมิดความรู้สึกของคนไทย และเราในนามกมธ. วิสามัญศึกษาติดตามการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับการพิทักษ์สถาบัน พระมหากษัตริย์ วุฒิสภา จะทำหนังสือแจ้งให้ทราบข้อเท็จจริงนี้ทั้งหมด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
รีโมท
ซื้อ รีโมท จากผู้ค้าส่งโดยตรง ที่มีหน้าร้านจริง ที่ บ้านหม้อ และ คลองถม ราคาถูกกว่าใคร ปลอดภัย มีรับประกัน