บล็อกนี้เป็นเพียงช่องทางรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ผู้จัดทำไม่ได้มีเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารหรือต้องการให้ร้าย องกรณ์ หน่วยงานและบุคคลใดๆทั้งสิ้น+++++ หากบทความใดผิดพลาดหรือกระทบต่อ องกรณ์ หน่วยงาน หรือบุคคลใด ผู้จัดทำก็กราบขออภัยไว้ล่วงหน้า +++++ ผู้อ่านท่านใดมีข้อมูลหักล้าง ชี้แนะ หรือมีความเห็นใดๆเพิ่มเติมก็ขอความกรุณาแสดงความเห็นเพื่อให้เป็นความรู้สำหรับผู้อ่านท่านต่อๆไปได้ตามแต่จะเห็นสมควร ------------- ขอขอบคุณเจ้าของบทความทุกๆท่านมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ *******ช.ช้าง *******

วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ชี้ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ทำเงินเฟ้อพุ่งกระฉูดอีก 2.3%


Pic_188355

ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจธนาคารทหารไทย ประเมินนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท หากช้จริงพร้อมกันทั่วประเทศจะส่งผลห้เงินเฟ้อพื้นฐานปรับเพิ่มอีกร้อยละ 2.3 นำโดยเงินเฟ้อนหมวดอาหารที่จะเร่งตัวขึ้นเกือบเท่าตัว

เมื่อ วันที่ 22 ก.ค. ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจธนาคารทหารไทยหรือ TMB Analytics ออกรายงาน ระบุว่า จากการศึกษาของ TMB Analytics บนสมมุติฐานที่ค่า จ้างขั้นถูกปรับขึ้นเป็น 300 บาท พร้อมกันทุกจังหวัดนไตรมาสแรกของปีหน้า พบว่าการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะส่งผลห้ค่าแรงของภาคเอกชนนภาพรวมเฉลี่ยปรับ ขึ้นร้อยละ 26 โดยจะเริ่มส่งผลกระทบนไตรมาสที่สอง และการส่งผ่านจากต้นทุนแรงงานสู่ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคจะมานช่วงครึ่ง ปีหลังของปีหน้า โดยอัตราเงินเฟ้อนหมวดอาหารจะเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 4 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 2.3 จากกรณีฐาน

จากอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานล่าสุดนเดือนมิถุนายน 54 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 และยังอยู่นช่วงขาขึ้นสู่ระดับร้อยละ 3นช่วงสิ้นปีนี้ หากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำเป็นไปตามสมมุติฐานข้างต้น เรามอง ว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอาจทะยานขึ้นสู่ระดับร้อยละ 5นช่วงปลายปีหน้า ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงระดับอันตรายต่อเศรษฐกิจไทย เนื่องจากนรอบสิบปีที่ผ่านมาจุดสูงสุดของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานนช่วง ที่เศรษฐกิจโลกร้อนแรงและราคาน้ำมันสูงเป็นประวัติการณ์ไม่เคยอยู่เหนือ ระดับร้อยละ 4 ซึ่งทะลุขอบบนของกรอบนโยบายการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยวางไว้ ดังนั้นผลลัพธ์โดยตรงคือดอกเบี้ยนโยบายที่จะปรับขึ้นอีกนปีหน้าอย่าง แน่นอน

ส่วนของระดับราคานกลุ่มอาหาร ซึ่งมีสัดส่วนราวหนึ่งนสามของระดับราคาทั่วไปทั้งประเทศ การปรับค่าจ้างขั้นต่ำจะส่งผลกระทบรุนแรงที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มสินค้า อื่น โดยจะทำห้อัตรา เงินเฟ้อหมวดอาหารปรับเพิ่มอีกร้อยละ 4 ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อดังกล่าว ณ เดือนมิถุนายน 54 อยู่ที่ร้อยละ 8 ซึ่งหมายความว่าถ้ามีการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำดังข้างต้นแล้ว เราอาจจะได้เห็นอัตราเงินเฟ้อนหมวดอาหารวิ่งไปอยู่ที่ร้อยละ 12-15นระดับเดียวกับช่วงเศรษฐกิจร้อนแรงนปี 2551 ก่อนโลกเข้าสู่วิกฤต Subprime ซึ่งย่อมส่งผลโดยตรงต่อค่าครองชีพของประชาชนและสวนทางกับทำห้ ความตั้งจแรกเริ่มของรัฐบาลชุดหม่นการแก้ปัญหาปากท้องของประชาชนผ่าน การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ

ผลของระดับสินค้าที่เพิ่มขึ้นอาจดูไม่มากหากเปรียบเทียบกับค่าแรงที่ได้ เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดีเมื่อมองห้รอบด้าน เราก็จะเห็นว่าไม่ช่ว่าแรงงานที่อยู่นประเทศ ไทยทุกคนจะได้รับค่าแรง ขึ้นเหมือนกันหมด เพราะ ยังมีแรงงานนอกระบบ และ แรงงานที่ไม่สามารถต่อรองค่าจ้างตามกฎหมายกับนายจ้าง แต่ต้องกลับรับภาระค่าครองชีพจากราคาสินค้าที่สูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ ดังนั้น การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ จึงยังไม่ช่ค ำตอบเดียวของการแก้ปัญหาปากท้องและคุณภาพชีวิตของประชาชน ทุกคน แต่ยังมีแนวนโยบายอื่นที่ต้องทำควบคู่กันไป เพื่อ 1) การกระจายรายได้ มีความเหลื่อมล้ำลดลง 2) รักษาสมดุลย์นตลาดแรงงานที่เป็นปัจจัยการผลิตหลักของภาคธุรกิจ และ 3) รักษาระดับราคาสินค้าโดยรวมของประเทศมีเสถียรภาพที่จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจน ระยะยาว ทั้งหมดนี้ถือเป็นโดยโจทย์ที่สำคัญของรัฐบาลชุดหม่ต้องพจารณาอย่างรอบคอบ

ไทยรัฐ

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

รีโมท ซื้อ รีโมท จากผู้ค้าส่งโดยตรง ที่มีหน้าร้านจริง ที่ บ้านหม้อ และ คลองถม ราคาถูกกว่าใคร ปลอดภัย มีรับประกัน

คนไทยกู้แผ่นดิน บนเฟชบุ๊ค

บทความย้อนหลัง