ผม (อ.ปรีดา กุลชล ผู้เขียน) ชอบข้อเสนอให้ปรับโครงสร้างการเมืองใหม่ทั้งหมดของ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ และ แนะนำให้มีการปฏิรูปการเมืองครั้งใหญ่โดยมี ส.ส.ร.พิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญ
1. การปรับโครงสร้างทางการเมืองต้องปรับให้ได้มาตรฐานสากลด้วย เช่น สหรัฐและยุโรปปรับเป็น"โครงสร้างตามระบบ"(Organization as a system)ตามมาตรฐานสากล(TQM).
ก. "โครงสร้างตามระบบ" หมายถึงระบบ Quality system นั่นคือ โครงสร้างที่มี Resources เช่น ผู้นำ Leadership บริหารระบบ(Documented Procedures) เน้นการทำงานเป็นทีม(Teamwork) โดยมีจุดประสงค์(Purpose)เพื่อปรับปรุงคุณภาพ(Quality Improvement) โดยยึดความพอใจของประชาชนเป็นตัวตั้ง(Customer Focus)
- Leadership: ต้องสร้างระบบ(System design)ที่แสดงคุณสมบัติของ"ความเป็นผู้นำ"ที่กระทัดรัดและชัดเจนครบถ้วน ปกติ จะออกมาในรูป"ระบบงาน"(Work Systems)
- Leadership: การบริหารระบบ(Documented Procedures)ของ Leadership ต้องมีพื้นฐานอย่างน้อย 2 รายการคือ "ระบบงาน"(Work Systems) และ "กระบวนการทำงาน(Work Processes).
- Leadership: ต้องบริหารระบบสำคัญ 3 ระบบคือ
1. ระบบยุทธศาสตร์(Strategy system)
2. ระบบวิธีปฏิบัติ(Operation system)
3. ระบบบริหารคน(Workforce system) โดยทำเป็น Work Systems และต้องมี Work Processes ด้วย.
- Leadership: ต้องมีระบบประเมิน(ราชการเรียกประเมินความคุ้มค่า)ในรูป Work Systems...จุดประสงค์ของการประเมินเพื่อหาจุดอ่อนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ(Quality Improvement)ให้เป็นจุดแข็ง...มิใช่เพื่อความคุ้มค่าในการจัดงบประมาณ.
- Leadership: ประเมินโดยวัด/วิเคราะห์/ความรู้ (Measurement, Analysis, and Knowledge Management) โดยมี Work Systems และ Work Processes เป็นพื้นฐาน.
ข้อสังเกต:...โครงสร้างสมัยใหม่(TQM)ตามมาตรฐานสากลมีเพียงลำดับชั้นเดียวเท่านั้น(Layer) คือ Leadership (Leadership council)หรือผู้แทน บริหารโดยตรงไปยังทีมผู้ปฏิบัติงาน เช่น Project Team โดยมีมีพี่เลี้ยง Facilitators หลายหน่วยคอยให้ความช่วยเหลือทีม
จากการที่โครงสร้างการบริหารสมัยใหม่มีการบริหารเพียงขั้นเดียวคือ Leadership council บริหารสั่งการโดยตรงไปยังผู้ปฏิบัติงาน(ทีม) ดังนั้น คณะรัฐมนตรี(โดยนายก ร.ม.ต.)หรือผู้แทน สามารถบริหารโดยตรงไปยังผู้ปฏิบัติงานตามกระทรวงต่างๆ หรือสั่งการโดยตรงไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้
ตัวอย่างการบริหารชั้นเดียวที่ดีมากคือ การบริหารของ GE ที่ Leadership council โดย CEO (หรือผู้แทน) สามารถบริหารสั่งงานโดยตรงไปยังหน่วยงานของ GE ทั่วโลกได้โดยไม่ต้องผ่านผู้บริหารระดับกลางแต่ประการใด
การปรับโครงสร้างทางการเมืองใหม่ทั้งหมดเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมืองที่เกิดขึ้นได้ หมายถึงการปรับโครงสร้างจากการบริหาร Bureaucracy (ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ปัจจุบัน) ให้เป็น"โครงสร้างตามระบบ" ดังกล่าวข้างต้น
Bureaucracy ของรัฐบาลทุกชุดตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นวิกฤตเพราะ "Bureaucracy means waste, slow decision making, unnecessary approvals, and all the other things that kill a company's competitive spirit. (Jack Welch).
Welch felt that ridding the company of bureaucracy was everyone's job. He urged all of his employees to "fight it, kick it." That's why "disdaining bureaucracy" became such an important part of GE's shared values (the list of behaviors that were expected of all GE employees).
2. ประเด็นสำคัญที่สุดของการแก้ไขรัฐธรรมนูญคือการปฏิรูปหรือเปลี่ยน(Change)การบริหาร Bureaucracy ของรัฐบาลปัจจุบันที่การบริหารยังไม่มีคุณภาพเพราะขาด"ระบบ" ไปสู่การบริหารคุณภาพ(TQM)ที่มี"ระบบ"(Quality system)ตามมาตรฐานสากลที่ UN สนับสนุน เท่านั้น
ส่วนการแบ่งแยกอำนาจให้ชัดเจนว่านายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทำหน้าที่ฝ่ายบริหารเพียงอย่างเดียวมิใช่ประเด็นสำคัญ...ประเด็นสำคัญคือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีทุกคนต้องบริหารโดยมีระบบงาน Work Systems และ กระบวนการทำงาน Work Processes รองรับ และมี"โครงสร้างตามระบบ" (Organization as a system).
ส.ส.ทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติเพียงอย่างเดียวก็มิใช่ประเด็นสำคัญเท่ากับการปฏิรูปการบริหารของฝ่ายนิติบัญญัติให้มีโครงสร้างตามระบบ(Organization as a system) และมีการบริหารระบบ(Work Systems และ Work Processes)
การให้ประชาชนเลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรงแทนการให้ ส.ส.เลือกนายกรัฐมนตรีมิใช่หลักประกันการทุจริต...หลักประกันการทุจริตได้คือ"ระบบ"ตามมาตรฐานสากล เพราะระบบสามารถสร้างเครื่องป้องกันการทุจริตได้
การให้ประชาชนเลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรงผ่านการเลือกตั้งในระบบ ส.ส.บัญชีรายชื่อมิได้เป็นหลักประกันให้พรรคการเมืองพ้นจากการถูกครอบงำแต่ประการใด..."ระบบ"เท่านั้นที่เป็นหลักประกัน(Assurance)มิให้พรรคการเมืองถูกครอบงำ...เมื่อสามารถออกแบบระบบได้ดี(System design)ซึ่งไม่ยาก
การจัดระบบใหม่เรื่องนี้ เพื่อมิให้มีปัญหาเรื่องรัฐบาลมีเสียงข้างน้อยในสภาผู้แทนราษฎร และหากกฏหมายใดรัฐบาลเสนอแล้วไม่ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรก็ไม่จำเป็นที่จะต้องแสดงความรับผิดชอบเหมือนในอดีต เพราะถือว่าฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติเป็นอิสระต่อกันอย่างชัดเจน...ระบบใหม่นี้ต้องทำเป็นระบบงาน Work Systems และเพื่อให้ระบบใหม่สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการทำงาน Work Processes ด้วย
3. ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ มีเจตนาดีมากในการเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปการเมืองซึ่งมีความพยายามทำเรื่องนี้มาหลายครั้ง..โดยมีรัฐธรรมนูญ 2540 เป็นความพยายามครั้งแรก...ทุกครั้งล้มเหลวหมดเพราะไม่เห็นหัวใจของการปฏิรูป และไม่รู้ประวัติว่าทำไมโลกต้องปฏิรูปการเมือง
3.1 "หัวใจ"ของการปฏิรูปการเมืองคือระบบ(Quality system)ซึ่งประกอบด้วย"โครงสร้างตามระบบ"Organization as a system, "ผู้นำ" Leadership, และเอกสารวิธีปฏิบัติงาน Documented procedures ในรูป Work Systems และ Work Processes.
3.2 ประวัติที่โลกต้องปฏิรูปการเมือง...ขอร่ายยาวนิดหน่อย
3.2.1 Dr. Deming ทำวิจัยเมื่อต้นทศวรรษ 1970s พบว่าการบริหาร Bureaucracyที่ขาด"ระบบ"นั้นไม่มีประสิทธิภาพหรือบกพร่องสูงถึง 85-94% รัฐบาลไทยใช้การบริหาร Bureaucracy ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึง ปัจจุบัน.
3.1.2 รัฐบาลสหรัฐรู้เรื่องนี้มาก่อนการวิจัยของ ดร.เดมมิ่ง...จึงเริ่มสร้างระบบบริหาร(Documented Procedures) ตั้งแต่หลัง WW-2 โดยลงทุนจ้างผู้เชี่วชาญถึง 300 คนมาช่วยออกแบบระบบ(System design)ประมาณต้นทศวรรษ 1950s
3.1.3 นักร่างระบบบริหารทั้ง 300 คนประกอบด้วย
1.อาจารย์บริหารของมหาวิทยาลัย Top Ten ของสหรัฐ 100 คน
2. นักบริหารธุรกิจชั้นยอด 100 คน
3. ผู้เชี่ยวชาญการบริหารของรัฐบาลทุกรัฐ 100 คน.
3.1.4 ระบบที่ทั้ง 300 คนสำเร็จออกมาในรูป:- Federal......Manual, SOP(Standing Operation Procedure)และ Office Instructions เป็นต้น สำหรับระบบบริหารรวบรวมที่สำนักงา ก.พ.(US.Civil Service Commission ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น OPM: Office of Personnel Management).
3.1.5 รัฐบาลสหรัฐมีระบบบริหารที่ดีที่สุดในโลกมากว่า 50 ปีแล้วแต่ยังมีจุดอ่อนเรื่องโครงสร้าง Bureaucracy ที่มีหลายลำดับชั้นเช่นของรัฐบาลไทยปัจจุบัน รัฐบาลสหรัฐเพิ่งสลัดโครงสร้างล้าสมัยหลุดเด็ดขาดหลังประกาศใช้กฏหมายปฏิรูปสู่ TQM. คือ Public Law 100-107, 1987.
3.1.6 หลังการวิจัยของ ดร.เดมมิ่ง เมื่อต้นทศวรรษ 1970s ประเทศอังกฤษระดมผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาระบบเพื่อให้อังกฤษมีการบริหารระบบโดยสร้างมาตรฐานของอังกฤษ(British Standard)สำเร็จปี 1979 เรียกว่า BS-5750,
3.1.7 ผู้เชี่ยวชาญที่ยกร่าง BS-5750 รู้ดีว่า"ระบบบริหาร"ที่ดีที่สุดคือระบบบริหารของ US. Federal Government. จึงพยายามเสาะหาเพื่อนำมาเป็นตัวอย่างของ BS-5750 ...ในที่สุดได้ระบบ MIL-Q-9858A ของกองทัพสหรัฐมาประกอบ BS-5750.
3.1.8 ระบบ MIL-Q-9858A เป็น"ระบบจัดซื้อ" มืใช่"ระบบบริหาร"ตามที่ผู้เชี่ยวชาญอังกฤษต้องการ ดังนั้น BS-5750,1979 จึงสับสนเรื่องระบบ
3.1.9 ชาวอังกฤษได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการยกร่างมาตรฐานสากล ISO 9000 คณะกรรมการดังกล่าวชื่อ TC-176 ใช้เวลายกร่างมาตรฐานสากลประมาณ 7 ปี ในที่สุดก็ลอก BS-5750 ทั้งหมด...และประกาศใช้เป็นมาตรฐานสากลเมื่อเดือนมิถุนายน 1987
3.1.10 ISO 9000 จึงสับสนเรื่อง"ระบบบริหาร" เช่นเดียวกับ BS-5750 ดังนั้น ISO 9000 จึงมีปัญหาที่"ระบบ"ซึ่งเป็นหัวใจของการบริหารคุณภาพ...ประเทศทั่วโลกที่ใช้ ISO 9000 จึงมีปัญหาเรื่องระบบบริหารโดยทั่วหน้ากัน
การปฏิรูปการศึกษาของไทยประยุกต์ระบบ ISO 9000 มาเป็นระบบประกันคุณภาพคุณภาพการศึกษาตามหมวด 6 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 จึงมี"โรคหัวใจ"เช่นเดียวกับ ISO 9000 และ BS-5750 ของอังกฤษ
การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยซึ่งมีงบประมาณประมาณ 1 ล้านล้านบาท(Trillion)ในการปฏิรูปทศวรรษแรก 2542-2551 จึงล้มเหลวเหมือนตำน้ำพริกละลายแม่น้ำเพราะสับสนเรื่อง"ระบบ"(Documented Procedures)เท่านั้น
การปฏิรูปการเมืองนั้นง่ายนิดเดียว คือ ปฏิรูปจากการบริหารที่ไม่มีคุณภาพ Bureaucracy ของรัฐบาลปัจจุบัน...ไปสู่การบริหารที่มีคุณภาพ TQM (Total Quality Management)แค่นั้น...โดยมีระบบ(Quality system)เป็นหัวใจ
ข้อสังเกต: 1. การปฏิรูปการเมืองครั้งแรกทำโดยรัฐธรรมนูญ 2540 จัดการโดย ดร.ชุมพล ศิลปอาชา และ อาจารย์กฏหมายมหาชนพร้อมสร้างภาพตีปี๊บว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ดีที่สุดในโลก "ความจริง"ปรากฏว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล(เลว)เนื่องจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการร่างทุกท่านโดยเฉพาะ กมธ.ยกร่างฯขาดความรู้การบริหารตามมาตรฐานสากล ปฏิรูปการเมืองล้มเหลวครั้งแรก
ข้อสังเกต: 2 รัฐบาลชวน หลีกภัย โดยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯดูแลสำนักงาน ก.พ. ตั้งคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ (ป.ร.ร.) โดยมีเลขาธิการชื่อ ดร.วรเดช จันทศร การปฏิรูปล้มเหลวโดยสิ้นเชิงระหว่าง พ.ศ. 2541 ถึง 2543 สาเหตุเพราะขาดความรู้เรื่องการบริหารคุณภาพ(TQM)ตามมาตรฐานสากลเช่นเดียวกับการปฏิรูปครั้งแรก
ข้อสังเกต: 3. รัฐบาลทักษิณชินวัตร 2544-2549 ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) เริ่มต้นก็ชี้ให้เห็นความล้มเหลวด้วย ก.พ.ร.เสนอโครงสร้าง Bureaucracy หลายลำดับชั้นตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2445 เพราะโครงสร้างของ TQM ซึ่งเป็นความสำเร็จเป็น"โครงสร้างตามระบบ"(Organization as a system) ทั้งนี้ เป็นเพราะ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และ ก.พ.ร. ทุกคนขาดความรู้การบริหารคุณภาพ TQM ตามมาตรฐานสากล
ข้อสังเกต: 4. รัฐบาลขิงแก่ของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุฬานนท์เล่นพวกเล่นพ้องตั้ง ตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติชุดขิงเน่าผ่าน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2550 ที่มีโครงสร้างหลายชั้น(Multi-layered organization structure) ที่โลกเขาเลิกโครงสร้างชนิดนี้ไปตั้งแต่ พ.ศ. 2530 แล้ว โครงสร้างนี้นอกจากชี้ให้เห็นว่า ส.ส.ทุกคนล้าสมัยขาดความรู้ TQM ทุกคนแล้ว ยังตอกย้ำความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมืองของไทยให้โลกรู้ด้วย
ข้อสังเกต: 5. รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ขาดความรู้ TQM, รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ขาดความรู้ TQM...การปฏิรูปการเมืองจึงล้มเหลวแน่นอน
ข้อสังเกต: 6. รัฐบาลอภิสิทธิ์ อ๊อกฟอร์ด น่าจะรู้แล้วว่า..ที่เคยล้มเหลวปฏิรูประบบราชการสมัยเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ เมื่อ พ.ศ.2541-2543 เป็นเพราะคณะกรรมการ ป.ร.ร.ขาดความรู้ TQM...แต่อภิสิทธิ์ก็ยังเลือกผู้ที่ขาดคุณสมบัติความรู้ TQM เข้ามาทำหน้าที่ปฏิรูปประเทศ ทั้ง คปร. คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป...ชี้ให้เห็นว่า อภืสิทธิ์ไม่ต้องการความสำเร็จของการปฏิรูปการเมือง เพราะท่านรู้ดีว่า TQM มี"ระบบ"ป้องกันการโกงชาติของรัฐบาลได้
ดังที่เขียนไว้ข้างต้น ความสำเร็จของการปฏิรูปการเมืองง่ายนิดเดียว..เพียงเปลี่ยน(Change)จากการบริหาร Bureaucracy ไปสู่การบริหารคุณภาพ TQM แค่นั้น ดังนั้น ความสำเร็จของปฏิรูปการเมืองนั้นไม่ยากถ้าได้ผู้มีคุณสมบัติความรู้การบริหารคุณภาพ TQM และจะง่ายมากเหมือนกินกล้วย...ถ้าได้ผู้มีความสามารถออกแบบระบบที่ดีได้ด้วย...และจะง่ายอย่างยิ่ง ถ้าได้นายกรัฐมนตรีที่มีความรู้ TQM และไม่แกล้งโง่.
TQM สร้างความสำเร็จให้การปฏิรูปการเมือง..ปฏิรูปการศึกษา และปฏิรูปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้พร้อมๆกัน ด้วยเครื่องมือเหมือนกันคือ ผู้นำLeadership บริหารระบบให้เกิดผลงานประชาชนพอใจเท่านั้น ดังนั้น สามารถใช้เพียงทีมเดียวปฏิรูปทั้ง 3 ประเภทข้างต้นให้สำเร็จได้ไม่ยาก
ในทำนองเดียวกัน เราใช้ทีมปฏิรูปเพียงทีมเดียวปฏิรูปการบริหารของฝ่ายนิติบัญญัติ, การบริหารของรัฐบาลทุกกระทรวง และการบริหารกระบวนการยุติธรรมและตำรวจได้พร้อมๆกัน โดยจัดระบบให้ผู้นำของหน่วยงานดังกล่าวบริหารแค่นั้น.
การปฏิรูปประเทศทุกกระทรวงของรัฐบาล ปฏิรูปฝ่ายนิติบัญญัติและกระบวนการยุติธรรมควรมีผู้นำปฏิรูปเพียงหน่วยงานเดียวเป็นเอกภาพ...ขอให้ลืมการแยกหน่วยงานกันปฏิรูป เช่น ศธ.ปฏิรูปการศึกษา ก.พ.ร.ปฏิรูประบบราชการ กระทรวงเกษตรทำ GAP เป็นต้น เพราะนั่นคือการลองผิดลองถูก(Trial & Errors)ทำระบบเป็นเบี้ยหัวแตก มิใช่การปฏิรูปประเทศที่ถูกต้อง.
1. การปรับโครงสร้างทางการเมืองต้องปรับให้ได้มาตรฐานสากลด้วย เช่น สหรัฐและยุโรปปรับเป็น"โครงสร้างตามระบบ"(Organization as a system)ตามมาตรฐานสากล(TQM).
ก. "โครงสร้างตามระบบ" หมายถึงระบบ Quality system นั่นคือ โครงสร้างที่มี Resources เช่น ผู้นำ Leadership บริหารระบบ(Documented Procedures) เน้นการทำงานเป็นทีม(Teamwork) โดยมีจุดประสงค์(Purpose)เพื่อปรับปรุงคุณภาพ(Quality Improvement) โดยยึดความพอใจของประชาชนเป็นตัวตั้ง(Customer Focus)
- Leadership: ต้องสร้างระบบ(System design)ที่แสดงคุณสมบัติของ"ความเป็นผู้นำ"ที่กระทัดรัดและชัดเจนครบถ้วน ปกติ จะออกมาในรูป"ระบบงาน"(Work Systems)
- Leadership: การบริหารระบบ(Documented Procedures)ของ Leadership ต้องมีพื้นฐานอย่างน้อย 2 รายการคือ "ระบบงาน"(Work Systems) และ "กระบวนการทำงาน(Work Processes).
- Leadership: ต้องบริหารระบบสำคัญ 3 ระบบคือ
1. ระบบยุทธศาสตร์(Strategy system)
2. ระบบวิธีปฏิบัติ(Operation system)
3. ระบบบริหารคน(Workforce system) โดยทำเป็น Work Systems และต้องมี Work Processes ด้วย.
- Leadership: ต้องมีระบบประเมิน(ราชการเรียกประเมินความคุ้มค่า)ในรูป Work Systems...จุดประสงค์ของการประเมินเพื่อหาจุดอ่อนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ(Quality Improvement)ให้เป็นจุดแข็ง...มิใช่เพื่อความคุ้มค่าในการจัดงบประมาณ.
- Leadership: ประเมินโดยวัด/วิเคราะห์/ความรู้ (Measurement, Analysis, and Knowledge Management) โดยมี Work Systems และ Work Processes เป็นพื้นฐาน.
ข้อสังเกต:...โครงสร้างสมัยใหม่(TQM)ตามมาตรฐานสากลมีเพียงลำดับชั้นเดียวเท่านั้น(Layer) คือ Leadership (Leadership council)หรือผู้แทน บริหารโดยตรงไปยังทีมผู้ปฏิบัติงาน เช่น Project Team โดยมีมีพี่เลี้ยง Facilitators หลายหน่วยคอยให้ความช่วยเหลือทีม
จากการที่โครงสร้างการบริหารสมัยใหม่มีการบริหารเพียงขั้นเดียวคือ Leadership council บริหารสั่งการโดยตรงไปยังผู้ปฏิบัติงาน(ทีม) ดังนั้น คณะรัฐมนตรี(โดยนายก ร.ม.ต.)หรือผู้แทน สามารถบริหารโดยตรงไปยังผู้ปฏิบัติงานตามกระทรวงต่างๆ หรือสั่งการโดยตรงไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้
ตัวอย่างการบริหารชั้นเดียวที่ดีมากคือ การบริหารของ GE ที่ Leadership council โดย CEO (หรือผู้แทน) สามารถบริหารสั่งงานโดยตรงไปยังหน่วยงานของ GE ทั่วโลกได้โดยไม่ต้องผ่านผู้บริหารระดับกลางแต่ประการใด
การปรับโครงสร้างทางการเมืองใหม่ทั้งหมดเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมืองที่เกิดขึ้นได้ หมายถึงการปรับโครงสร้างจากการบริหาร Bureaucracy (ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ปัจจุบัน) ให้เป็น"โครงสร้างตามระบบ" ดังกล่าวข้างต้น
Bureaucracy ของรัฐบาลทุกชุดตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นวิกฤตเพราะ "Bureaucracy means waste, slow decision making, unnecessary approvals, and all the other things that kill a company's competitive spirit. (Jack Welch).
Welch felt that ridding the company of bureaucracy was everyone's job. He urged all of his employees to "fight it, kick it." That's why "disdaining bureaucracy" became such an important part of GE's shared values (the list of behaviors that were expected of all GE employees).
2. ประเด็นสำคัญที่สุดของการแก้ไขรัฐธรรมนูญคือการปฏิรูปหรือเปลี่ยน(Change)การบริหาร Bureaucracy ของรัฐบาลปัจจุบันที่การบริหารยังไม่มีคุณภาพเพราะขาด"ระบบ" ไปสู่การบริหารคุณภาพ(TQM)ที่มี"ระบบ"(Quality system)ตามมาตรฐานสากลที่ UN สนับสนุน เท่านั้น
ส่วนการแบ่งแยกอำนาจให้ชัดเจนว่านายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทำหน้าที่ฝ่ายบริหารเพียงอย่างเดียวมิใช่ประเด็นสำคัญ...ประเด็นสำคัญคือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีทุกคนต้องบริหารโดยมีระบบงาน Work Systems และ กระบวนการทำงาน Work Processes รองรับ และมี"โครงสร้างตามระบบ" (Organization as a system).
ส.ส.ทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติเพียงอย่างเดียวก็มิใช่ประเด็นสำคัญเท่ากับการปฏิรูปการบริหารของฝ่ายนิติบัญญัติให้มีโครงสร้างตามระบบ(Organization as a system) และมีการบริหารระบบ(Work Systems และ Work Processes)
การให้ประชาชนเลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรงแทนการให้ ส.ส.เลือกนายกรัฐมนตรีมิใช่หลักประกันการทุจริต...หลักประกันการทุจริตได้คือ"ระบบ"ตามมาตรฐานสากล เพราะระบบสามารถสร้างเครื่องป้องกันการทุจริตได้
การให้ประชาชนเลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรงผ่านการเลือกตั้งในระบบ ส.ส.บัญชีรายชื่อมิได้เป็นหลักประกันให้พรรคการเมืองพ้นจากการถูกครอบงำแต่ประการใด..."ระบบ"เท่านั้นที่เป็นหลักประกัน(Assurance)มิให้พรรคการเมืองถูกครอบงำ...เมื่อสามารถออกแบบระบบได้ดี(System design)ซึ่งไม่ยาก
การจัดระบบใหม่เรื่องนี้ เพื่อมิให้มีปัญหาเรื่องรัฐบาลมีเสียงข้างน้อยในสภาผู้แทนราษฎร และหากกฏหมายใดรัฐบาลเสนอแล้วไม่ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรก็ไม่จำเป็นที่จะต้องแสดงความรับผิดชอบเหมือนในอดีต เพราะถือว่าฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติเป็นอิสระต่อกันอย่างชัดเจน...ระบบใหม่นี้ต้องทำเป็นระบบงาน Work Systems และเพื่อให้ระบบใหม่สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการทำงาน Work Processes ด้วย
3. ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ มีเจตนาดีมากในการเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปการเมืองซึ่งมีความพยายามทำเรื่องนี้มาหลายครั้ง..โดยมีรัฐธรรมนูญ 2540 เป็นความพยายามครั้งแรก...ทุกครั้งล้มเหลวหมดเพราะไม่เห็นหัวใจของการปฏิรูป และไม่รู้ประวัติว่าทำไมโลกต้องปฏิรูปการเมือง
3.1 "หัวใจ"ของการปฏิรูปการเมืองคือระบบ(Quality system)ซึ่งประกอบด้วย"โครงสร้างตามระบบ"Organization as a system, "ผู้นำ" Leadership, และเอกสารวิธีปฏิบัติงาน Documented procedures ในรูป Work Systems และ Work Processes.
3.2 ประวัติที่โลกต้องปฏิรูปการเมือง...ขอร่ายยาวนิดหน่อย
3.2.1 Dr. Deming ทำวิจัยเมื่อต้นทศวรรษ 1970s พบว่าการบริหาร Bureaucracyที่ขาด"ระบบ"นั้นไม่มีประสิทธิภาพหรือบกพร่องสูงถึง 85-94% รัฐบาลไทยใช้การบริหาร Bureaucracy ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึง ปัจจุบัน.
3.1.2 รัฐบาลสหรัฐรู้เรื่องนี้มาก่อนการวิจัยของ ดร.เดมมิ่ง...จึงเริ่มสร้างระบบบริหาร(Documented Procedures) ตั้งแต่หลัง WW-2 โดยลงทุนจ้างผู้เชี่วชาญถึง 300 คนมาช่วยออกแบบระบบ(System design)ประมาณต้นทศวรรษ 1950s
3.1.3 นักร่างระบบบริหารทั้ง 300 คนประกอบด้วย
1.อาจารย์บริหารของมหาวิทยาลัย Top Ten ของสหรัฐ 100 คน
2. นักบริหารธุรกิจชั้นยอด 100 คน
3. ผู้เชี่ยวชาญการบริหารของรัฐบาลทุกรัฐ 100 คน.
3.1.4 ระบบที่ทั้ง 300 คนสำเร็จออกมาในรูป:- Federal......Manual, SOP(Standing Operation Procedure)และ Office Instructions เป็นต้น สำหรับระบบบริหารรวบรวมที่สำนักงา ก.พ.(US.Civil Service Commission ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น OPM: Office of Personnel Management).
3.1.5 รัฐบาลสหรัฐมีระบบบริหารที่ดีที่สุดในโลกมากว่า 50 ปีแล้วแต่ยังมีจุดอ่อนเรื่องโครงสร้าง Bureaucracy ที่มีหลายลำดับชั้นเช่นของรัฐบาลไทยปัจจุบัน รัฐบาลสหรัฐเพิ่งสลัดโครงสร้างล้าสมัยหลุดเด็ดขาดหลังประกาศใช้กฏหมายปฏิรูปสู่ TQM. คือ Public Law 100-107, 1987.
3.1.6 หลังการวิจัยของ ดร.เดมมิ่ง เมื่อต้นทศวรรษ 1970s ประเทศอังกฤษระดมผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาระบบเพื่อให้อังกฤษมีการบริหารระบบโดยสร้างมาตรฐานของอังกฤษ(British Standard)สำเร็จปี 1979 เรียกว่า BS-5750,
3.1.7 ผู้เชี่ยวชาญที่ยกร่าง BS-5750 รู้ดีว่า"ระบบบริหาร"ที่ดีที่สุดคือระบบบริหารของ US. Federal Government. จึงพยายามเสาะหาเพื่อนำมาเป็นตัวอย่างของ BS-5750 ...ในที่สุดได้ระบบ MIL-Q-9858A ของกองทัพสหรัฐมาประกอบ BS-5750.
3.1.8 ระบบ MIL-Q-9858A เป็น"ระบบจัดซื้อ" มืใช่"ระบบบริหาร"ตามที่ผู้เชี่ยวชาญอังกฤษต้องการ ดังนั้น BS-5750,1979 จึงสับสนเรื่องระบบ
3.1.9 ชาวอังกฤษได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการยกร่างมาตรฐานสากล ISO 9000 คณะกรรมการดังกล่าวชื่อ TC-176 ใช้เวลายกร่างมาตรฐานสากลประมาณ 7 ปี ในที่สุดก็ลอก BS-5750 ทั้งหมด...และประกาศใช้เป็นมาตรฐานสากลเมื่อเดือนมิถุนายน 1987
3.1.10 ISO 9000 จึงสับสนเรื่อง"ระบบบริหาร" เช่นเดียวกับ BS-5750 ดังนั้น ISO 9000 จึงมีปัญหาที่"ระบบ"ซึ่งเป็นหัวใจของการบริหารคุณภาพ...ประเทศทั่วโลกที่ใช้ ISO 9000 จึงมีปัญหาเรื่องระบบบริหารโดยทั่วหน้ากัน
การปฏิรูปการศึกษาของไทยประยุกต์ระบบ ISO 9000 มาเป็นระบบประกันคุณภาพคุณภาพการศึกษาตามหมวด 6 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 จึงมี"โรคหัวใจ"เช่นเดียวกับ ISO 9000 และ BS-5750 ของอังกฤษ
การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยซึ่งมีงบประมาณประมาณ 1 ล้านล้านบาท(Trillion)ในการปฏิรูปทศวรรษแรก 2542-2551 จึงล้มเหลวเหมือนตำน้ำพริกละลายแม่น้ำเพราะสับสนเรื่อง"ระบบ"(Documented Procedures)เท่านั้น
การปฏิรูปการเมืองนั้นง่ายนิดเดียว คือ ปฏิรูปจากการบริหารที่ไม่มีคุณภาพ Bureaucracy ของรัฐบาลปัจจุบัน...ไปสู่การบริหารที่มีคุณภาพ TQM (Total Quality Management)แค่นั้น...โดยมีระบบ(Quality system)เป็นหัวใจ
ข้อสังเกต: 1. การปฏิรูปการเมืองครั้งแรกทำโดยรัฐธรรมนูญ 2540 จัดการโดย ดร.ชุมพล ศิลปอาชา และ อาจารย์กฏหมายมหาชนพร้อมสร้างภาพตีปี๊บว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ดีที่สุดในโลก "ความจริง"ปรากฏว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล(เลว)เนื่องจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการร่างทุกท่านโดยเฉพาะ กมธ.ยกร่างฯขาดความรู้การบริหารตามมาตรฐานสากล ปฏิรูปการเมืองล้มเหลวครั้งแรก
ข้อสังเกต: 2 รัฐบาลชวน หลีกภัย โดยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯดูแลสำนักงาน ก.พ. ตั้งคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ (ป.ร.ร.) โดยมีเลขาธิการชื่อ ดร.วรเดช จันทศร การปฏิรูปล้มเหลวโดยสิ้นเชิงระหว่าง พ.ศ. 2541 ถึง 2543 สาเหตุเพราะขาดความรู้เรื่องการบริหารคุณภาพ(TQM)ตามมาตรฐานสากลเช่นเดียวกับการปฏิรูปครั้งแรก
ข้อสังเกต: 3. รัฐบาลทักษิณชินวัตร 2544-2549 ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) เริ่มต้นก็ชี้ให้เห็นความล้มเหลวด้วย ก.พ.ร.เสนอโครงสร้าง Bureaucracy หลายลำดับชั้นตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2445 เพราะโครงสร้างของ TQM ซึ่งเป็นความสำเร็จเป็น"โครงสร้างตามระบบ"(Organization as a system) ทั้งนี้ เป็นเพราะ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และ ก.พ.ร. ทุกคนขาดความรู้การบริหารคุณภาพ TQM ตามมาตรฐานสากล
ข้อสังเกต: 4. รัฐบาลขิงแก่ของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุฬานนท์เล่นพวกเล่นพ้องตั้ง ตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติชุดขิงเน่าผ่าน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2550 ที่มีโครงสร้างหลายชั้น(Multi-layered organization structure) ที่โลกเขาเลิกโครงสร้างชนิดนี้ไปตั้งแต่ พ.ศ. 2530 แล้ว โครงสร้างนี้นอกจากชี้ให้เห็นว่า ส.ส.ทุกคนล้าสมัยขาดความรู้ TQM ทุกคนแล้ว ยังตอกย้ำความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมืองของไทยให้โลกรู้ด้วย
ข้อสังเกต: 5. รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ขาดความรู้ TQM, รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ขาดความรู้ TQM...การปฏิรูปการเมืองจึงล้มเหลวแน่นอน
ข้อสังเกต: 6. รัฐบาลอภิสิทธิ์ อ๊อกฟอร์ด น่าจะรู้แล้วว่า..ที่เคยล้มเหลวปฏิรูประบบราชการสมัยเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ เมื่อ พ.ศ.2541-2543 เป็นเพราะคณะกรรมการ ป.ร.ร.ขาดความรู้ TQM...แต่อภิสิทธิ์ก็ยังเลือกผู้ที่ขาดคุณสมบัติความรู้ TQM เข้ามาทำหน้าที่ปฏิรูปประเทศ ทั้ง คปร. คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป...ชี้ให้เห็นว่า อภืสิทธิ์ไม่ต้องการความสำเร็จของการปฏิรูปการเมือง เพราะท่านรู้ดีว่า TQM มี"ระบบ"ป้องกันการโกงชาติของรัฐบาลได้
ดังที่เขียนไว้ข้างต้น ความสำเร็จของการปฏิรูปการเมืองง่ายนิดเดียว..เพียงเปลี่ยน(Change)จากการบริหาร Bureaucracy ไปสู่การบริหารคุณภาพ TQM แค่นั้น ดังนั้น ความสำเร็จของปฏิรูปการเมืองนั้นไม่ยากถ้าได้ผู้มีคุณสมบัติความรู้การบริหารคุณภาพ TQM และจะง่ายมากเหมือนกินกล้วย...ถ้าได้ผู้มีความสามารถออกแบบระบบที่ดีได้ด้วย...และจะง่ายอย่างยิ่ง ถ้าได้นายกรัฐมนตรีที่มีความรู้ TQM และไม่แกล้งโง่.
TQM สร้างความสำเร็จให้การปฏิรูปการเมือง..ปฏิรูปการศึกษา และปฏิรูปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้พร้อมๆกัน ด้วยเครื่องมือเหมือนกันคือ ผู้นำLeadership บริหารระบบให้เกิดผลงานประชาชนพอใจเท่านั้น ดังนั้น สามารถใช้เพียงทีมเดียวปฏิรูปทั้ง 3 ประเภทข้างต้นให้สำเร็จได้ไม่ยาก
ในทำนองเดียวกัน เราใช้ทีมปฏิรูปเพียงทีมเดียวปฏิรูปการบริหารของฝ่ายนิติบัญญัติ, การบริหารของรัฐบาลทุกกระทรวง และการบริหารกระบวนการยุติธรรมและตำรวจได้พร้อมๆกัน โดยจัดระบบให้ผู้นำของหน่วยงานดังกล่าวบริหารแค่นั้น.
การปฏิรูปประเทศทุกกระทรวงของรัฐบาล ปฏิรูปฝ่ายนิติบัญญัติและกระบวนการยุติธรรมควรมีผู้นำปฏิรูปเพียงหน่วยงานเดียวเป็นเอกภาพ...ขอให้ลืมการแยกหน่วยงานกันปฏิรูป เช่น ศธ.ปฏิรูปการศึกษา ก.พ.ร.ปฏิรูประบบราชการ กระทรวงเกษตรทำ GAP เป็นต้น เพราะนั่นคือการลองผิดลองถูก(Trial & Errors)ทำระบบเป็นเบี้ยหัวแตก มิใช่การปฏิรูปประเทศที่ถูกต้อง.
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น