โดยดร.ไก่ Tanond
ด้วย ปริมาณทรัพยากรใต้ทะเลของไทยเราที่มีอยู่มากมาย แต่คนไทยเราไม่เคยได้ใช้ประโยชน์มาเป็นเวลาหลายสิบปีแล้ว ถึงเวลาหรือยัง? ที่รัฐบาลไทยจะเลิกหลอกคนไทยกันเสียที ..ในวันนี้คนไทยหลายล้านคนได้รู้ ได้เข้าใจเป็นอย่างดีถึงทรัพยากรเหล่านี้ที่ถูกหมกเม็ดไว้ และนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนอย่างไม่น่าให้อภัย เช่นนี้แล้ว การจะปฏิรูปเพื่อฟื้นฟูประเทศไทยในครั้งนี้ หากขาดไร้ซึ่งการนำเอา
1.ทรัพยากรน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ และ
2.หลักเกษตรทฤษฏีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มา เป็นกรอบแนวคิด เพื่อสร้างเป็นต้นแบบในการนำปฏิบัติสำหรับแผนฟิ้นฟูประเทศแล้ว ผมว่ารัฐบาลก็อย่ามาฝันเรื่องการหาเงินกู้สำหรับฟื้นฟูนิวไทยแลนด์ 9แสนล้านเลยครับ..เอาน้ำมันดิบ เอาก๊าซธรรมชาติ ของคนไทยเราขึ้นมาให้คนไทยใช้ ที่เหลือขายเพื่อนบ้าน ส่งออกบ้าง ให้สมกับการเป็นผู้ส่งออกปิโตรเลียมอันดับที่33ของโลกหน่อย
มี ปัญญาทำได้เท่านี้ ก็ไม่ต้องกู้ใครแล้ว เพราะนี่คือแหล่งทุนที่บรรพบุรุษของคนไทยเรา ได้ทิ้งไว้ให้ลูกหลานได้ใช้ในยามที่จำเป็น..มิหนำซ้ำมีเพียงเท่านี้ รับรองได้ว่า บรรษัทข้ามชาติ ไม่มีวันหนีไปไหนแน่นอน ..โดยไม่ต้องไปจ้างใครต่อใครให้มาทำแผนฟื้นฟู เพื่อให้เขาเชื่อถือ
ข้อเสนอแนะในการฟื้นฟู -
1.เพื่อ เยียวยาเกษตรกร - เนื่องด้วยพื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบกันมากมายเช่นนี้ การเริ่มต้นที่จะฟื้นฟูจึงควรมีหลักคิด เพื่อแก้ไขในสิ่งผิดที่มีมาแต่เก่าก่อน ด้วยการนำใช้หลักเกษตรทฤษฏีใหม่เป็นตัวตั้ง ตามขั้นตอนดังนี้-1.1 จัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่หลักเกษตรทฤษฏีใหม่ ในรูปแบบต่างๆ เสริมเติมด้วยการใช้ภาษาท้องถิ่นเพื่อใช้รณรงค์ก่อนเริ่มโครงการ1.2 นำเกษตรกรที่เข้าระบบ ขึ้นบัญชี ให้แนวทาง คัดเลือกประเภทของสัตว์และพืชและจัดวางพื้นที่ของตนตามหลักการ1.3 เมื่อเป็นรูปธรรมแล้ว จึงดำเนินการพักหนี้เกษตรกร ให้ยืมพันธุ์พืช พันธุ์ข้าว ปุ๋ย(ในขั้นต้น)ก่อนที่จะผลิตได้เอง ทุกอย่างปลอดสาร โดยควรจะรวมพืชพลังงานใช้ปลูกในพื้นที่ให้มากพอแก่การผลิตไบโอดีเซล ในแต่ละชุมชน/หมู่บ้านด้วย
2.เพื่อเยียวยาภาคธุรกิจและอุตสหกรรม
2.1แผนแม่บทงานป้องกันน้ำท่วมแบบถาวร จัดหาเจ้าภาพเพื่อเป็นศูนย์กลางการดูแลจัดการแผนงาน
2.2การ นำน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ กลั่น จัดเก็บ และจัดจำหน่ายในประเทศ ในราคาปลอดต้นทุน มีแต่ค่าใช้จ่ายตามจริง ไม่ต้องอิงราคาสิงค์โปร์สำหรับภายในประเทศอีกต่อไป จะอิงเมื่อขายออกนอกประเทศเท่านั้น
2.3 กำหนดมาตรการทางการเงิน การคลัง เพื่อเยียวยาบรรษัทข้ามชาติต่างๆในนิคมฯที่ได้รับผลกระทบทุกราย
1.ทรัพยากรน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ และ
2.หลักเกษตรทฤษฏีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มา เป็นกรอบแนวคิด เพื่อสร้างเป็นต้นแบบในการนำปฏิบัติสำหรับแผนฟิ้นฟูประเทศแล้ว ผมว่ารัฐบาลก็อย่ามาฝันเรื่องการหาเงินกู้สำหรับฟื้นฟูนิวไทยแลนด์ 9แสนล้านเลยครับ..เอาน้ำมันดิบ เอาก๊าซธรรมชาติ ของคนไทยเราขึ้นมาให้คนไทยใช้ ที่เหลือขายเพื่อนบ้าน ส่งออกบ้าง ให้สมกับการเป็นผู้ส่งออกปิโตรเลียมอันดับที่33ของโลกหน่อย
มี ปัญญาทำได้เท่านี้ ก็ไม่ต้องกู้ใครแล้ว เพราะนี่คือแหล่งทุนที่บรรพบุรุษของคนไทยเรา ได้ทิ้งไว้ให้ลูกหลานได้ใช้ในยามที่จำเป็น..มิหนำซ้ำมีเพียงเท่านี้ รับรองได้ว่า บรรษัทข้ามชาติ ไม่มีวันหนีไปไหนแน่นอน ..โดยไม่ต้องไปจ้างใครต่อใครให้มาทำแผนฟื้นฟู เพื่อให้เขาเชื่อถือ
ข้อเสนอแนะในการฟื้นฟู -
1.เพื่อ เยียวยาเกษตรกร - เนื่องด้วยพื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบกันมากมายเช่นนี้ การเริ่มต้นที่จะฟื้นฟูจึงควรมีหลักคิด เพื่อแก้ไขในสิ่งผิดที่มีมาแต่เก่าก่อน ด้วยการนำใช้หลักเกษตรทฤษฏีใหม่เป็นตัวตั้ง ตามขั้นตอนดังนี้-1.1 จัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่หลักเกษตรทฤษฏีใหม่ ในรูปแบบต่างๆ เสริมเติมด้วยการใช้ภาษาท้องถิ่นเพื่อใช้รณรงค์ก่อนเริ่มโครงการ1.2 นำเกษตรกรที่เข้าระบบ ขึ้นบัญชี ให้แนวทาง คัดเลือกประเภทของสัตว์และพืชและจัดวางพื้นที่ของตนตามหลักการ1.3 เมื่อเป็นรูปธรรมแล้ว จึงดำเนินการพักหนี้เกษตรกร ให้ยืมพันธุ์พืช พันธุ์ข้าว ปุ๋ย(ในขั้นต้น)ก่อนที่จะผลิตได้เอง ทุกอย่างปลอดสาร โดยควรจะรวมพืชพลังงานใช้ปลูกในพื้นที่ให้มากพอแก่การผลิตไบโอดีเซล ในแต่ละชุมชน/หมู่บ้านด้วย
2.เพื่อเยียวยาภาคธุรกิจและอุตสหกรรม
2.1แผนแม่บทงานป้องกันน้ำท่วมแบบถาวร จัดหาเจ้าภาพเพื่อเป็นศูนย์กลางการดูแลจัดการแผนงาน
2.2การ นำน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ กลั่น จัดเก็บ และจัดจำหน่ายในประเทศ ในราคาปลอดต้นทุน มีแต่ค่าใช้จ่ายตามจริง ไม่ต้องอิงราคาสิงค์โปร์สำหรับภายในประเทศอีกต่อไป จะอิงเมื่อขายออกนอกประเทศเท่านั้น
2.3 กำหนดมาตรการทางการเงิน การคลัง เพื่อเยียวยาบรรษัทข้ามชาติต่างๆในนิคมฯที่ได้รับผลกระทบทุกราย
ดร.ไก่ Tanond
อย่าเอาความไม่รู้..มาฉุดคว
http://hereisthai1.blogspot.co m/2011/09/blog-post.html?spref =fb
ใครที่ยังมาเม้นท์ว่าไทยเรา ไม่มี หรือ ไม่รู้อย่าเม้นท์โง่อีกนะ ผมจะลบเพื่อนออกเลย..เซ็งว่ ะ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น