บล็อกนี้เป็นเพียงช่องทางรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ผู้จัดทำไม่ได้มีเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารหรือต้องการให้ร้าย องกรณ์ หน่วยงานและบุคคลใดๆทั้งสิ้น+++++ หากบทความใดผิดพลาดหรือกระทบต่อ องกรณ์ หน่วยงาน หรือบุคคลใด ผู้จัดทำก็กราบขออภัยไว้ล่วงหน้า +++++ ผู้อ่านท่านใดมีข้อมูลหักล้าง ชี้แนะ หรือมีความเห็นใดๆเพิ่มเติมก็ขอความกรุณาแสดงความเห็นเพื่อให้เป็นความรู้สำหรับผู้อ่านท่านต่อๆไปได้ตามแต่จะเห็นสมควร ------------- ขอขอบคุณเจ้าของบทความทุกๆท่านมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ *******ช.ช้าง *******

วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

พรบ.ประกอบรธน.ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542


โดย Koon Rachapurk
โฉมหน้า...หน้าตาคร่าวๆโดยประมาณของ...
* พระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542
* โดย ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 301 บัญญัติให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ ตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่น ของรัฐ ไต่สวนข้อเท็จและทำความเห็นในกรณีที่มีการร้องขอให้ถอดถอนเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งดำรงตำแหน่งในระดับสูงออกจากตำแหน่งหรือดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ และไตร่สวนวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ---- ----- -- - -
* จึงได้ตราพรบ.ประกอบรธน.ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542...มีมาตราสำคัญดังนี้.....
* มาตรา 5 ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบกับ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ เพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
* มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า "คณะกรรมการ ป.ป.ช." ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกแปดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา
* มาตรา 19 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอำนาจหน้าที่( 13 ข้อ) ดังต่อไปนี้.....
(1) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภาตามหมวด 5 การถอดถอน จากตำแหน่ง.....
(2) ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเพื่อส่งไปยังอัยการสูงสุดเพื่อฟ้องคดีต่อศาลฎีกา..
(3) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่.....
(4) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ.....
(5) กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งและชั้นหรือระดับของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่จะต้องยื่น บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน
(6) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้า หน้าที่ของรัฐและการ เปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
(7)......(13).....
* มาตรา 32 ให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดง รายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะตามที่มีอยู่จริงในวันที่ยื่นบัญชีดังกล่าว ตามแบบที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกำหนด ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งและพ้นจากตำแหน่ง
( รายละเอียดตามลิงค์ ** http://www.local.moi.go.th/law6.htm
 ** )
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + ++ + ++ +++
 
* อยากให้มีการเปรียบเทียบเทียบโดยประมาณว่า...
ถ้าหากว่าเป็น รธน.TQM ...คือมีการ ออกแบบจัดทำ "ระบบงาน"
และ "กระบวนการทำงาน" ใส่ไว้ในนี้.....
จะมีผลทำให้ รธน.นี้ โดยเฉพาะมาตรา 301...ดีมีคุณภาพมากขึ้นแค่ไหน....
ปชช.จะได้เข้าใจ มองเห็น...คุณค่าของ "รธน.TQM " ได้ชัดเจน...
* หรือหากจะจัดทำเป็นร่างพรบ.ประกอบรธน.ฯ ให้สมบูรณ์ เผื่อไว้ให้ปชช.ยื่นเสนอเรียกร้องให้รัฐบาลนำไปใช้...จะได้ใหม?

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

รีโมท ซื้อ รีโมท จากผู้ค้าส่งโดยตรง ที่มีหน้าร้านจริง ที่ บ้านหม้อ และ คลองถม ราคาถูกกว่าใคร ปลอดภัย มีรับประกัน

คนไทยกู้แผ่นดิน บนเฟชบุ๊ค

บทความย้อนหลัง