วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ข่าวที่ไม่เป็นข่าวในไทย สื่อเยอรมันตีข่าวหึ่ม



นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีต่างประเทศ จับมือทักทายนางคอร์นีเลีย เพียร์เพอร์ รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศเยอรมนี เพื่อเจรจาให้ถอนอายัดเครื่องบินส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมฯ แต่รัฐบาลเยอรมันยืนกรานว่า ต้องเป็นเรื่องที่ศาลจะพิจารณา(ภาพข่าว:AFP)

หนังสือพิมพ์Süddeutsch Zeitung แฉค่าจอดวันละ650ยูโร

ข่าวใหม่ในหนังสือพิมพ์ ค่าเช่าจอดเครื่องินลำที่ถูกสั่งห้ามเคลื่อนย้ายนั้นวันละ 650 ยูโร ที่ต้องจ่ายสนามินMünchen

ข่าวในหนังสือพิมพ์ Süddeutsche Zeitung ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของเมืองกรุงมิวนิคได้เขียนแฉหลายอย่าง เกี่ยวกัเรื่องนี้ การที่ศาลประเทศเยอรมนีสั่งยึดเครื่องินของกองทัพอากาศไทย ซึ่งเป็นเครื่องินพระ ที่นั่ง ทาง Internationales Schiedsgericht als rechtmässig anerkannt hat.ที่ทางศาลเยอรมนีได้สั่งยึดทรัพย์ ความหมายคือศาลโลกได้เห็นด้วยในกรณีนี้ เนื่องจากรัฐาลไทยิดพลิ้วการจ่ายเงินให้ริษัท Walter Bau AG 30 ล้านยูโร


ข่าวภาคภาษาเยอรมัน

Um im Streit um die Pfändung eines Flugzeugs von Thailands Kronprinz durch ein deutsches Gericht die Wogen zu glätten, hat Außenamts-Staatsministerin Cornelia Pieper (FDP) den thailändischen Außenminister Kasit Piromya empfangen. Im Anschluss an das Treffen erklärte Pieper, sie setze darauf, dass sich in der Angelegenheit "schnell Lösungen finden lassen".

"Ich bedaure die Unannehmlichkeiten, die dem Kronprinzen durch die Pfändung des Flugzeugs entstanden sind", erklärte Pieper. "Der Fall liegt nun in den Händen der unabhängigen deutschen Justiz."

In einer Mitteilung des Ministeriums hieß es, sowohl Pieper als auch Kasit hätten bei dem Gespräch die "besondere Qualität der deutsch-thailändischen Freundschaft" betont; die bilateralen Beziehungen sollten durch den Vorfall nicht belastet werden. Pieper vertrat bei dem Treffen Bundesaußenminister Guido Westerwelle (FDP), der Mexiko besuchte.

Die Boeing 737, die der thailändische Kronprinz Maha Vajiralongkorn häufig selber fliegt, war am Dienstag am Münchner Flughafen auf Antrag des Insolvenzverwalters des Konkurs gegangenen Bauunternehmens Walter Bau gepfändet worden. Hintergrund sind Forderungen des Unternehmens an den thailändischen Staat wegen des Baus einer 26 Kilometer langen Autobahn zum Flughafen Don Muang in Bangkok.

Die Anfänge des Rechtsstreits liegen mehr als 20 Jahre zurück. Nach Angaben von Insolvenzverwalter Werner Schneider gab es "eine Vielzahl von Vertragsverstößen seitens der thailändischen Regierung". 2007 habe die bereits insolvente Walter Bau daher Schadenersatzansprüche geltend gemacht, dabei gehe es um mehr als 30 Millionen Euro. Die thailändische Regierung habe sich aber geweigert, zu zahlen. In einem Interview mit dem ZDF-Fernsehen bekräftigte Thailands Außenminister Kasit am Abend erneut, das Flugzeug gehöre - anders als von Insolvenzverwalter Schneider angegeben - nicht der thailändischen Regierung, sondern "einer Person im Namen des Prinzen".

Seine Regierung sei "nicht glücklich" über das Verhalten der Vertreter der Walter Bau, zumal sie nicht vorhabe, sich aus ihrer Verantwortung bezüglich der Forderungen des Insolvenzverwalters zu stehlen.

Vor seinem Abflug aus Bangkok hatte Kasit am Donnerstag vor negativen Folgen des Vorfalls auf das deutsch-thailändische Verhältnis gewarnt, im Interview mit dem ZDF, das am Freitagabend ausgestrahlt werden sollte, sagte er nun, er hoffe, der Vorfall werde die "sehr gesunden" Beziehungen zwischen beiden Ländern nicht berühren.


เมื่อคืนวันที่ 15 นี้สื่อโทรทัศน์ในประเทศเยอรมนีได้ออกข่าวเกี่ยวกัการยึดเครื่องินของไทยใว้ที่สนามินมิวนิค

ข่าวทางโทรทัศน์ที่ได้ดูนั้นเป็นข่าวช่อง 2 ZDF เวลา19.00.น เป็นข่าวภาคค่ำ ผู้ประกาศข่าวเป็นผู้หญิง เนื้อข่าวพร้อมทั้งภาพที่ฉายให้ดูตัวเครื่องิน และภาพฟ้าชายวชิราลงกรณ์ และภาพนายกษิตและคณะที่กรุงเอร์ลิน

ข่าวที่ดูเนื้อหาอกว่าทางรัฐาลไทยเมื่อสิกว่าปีก่อนได้เซ็นสัญญาว่าจ้างริษัทก่อสร้างทางของเยอรมนีให้ไปสร้างถนนในประเทศไทย ไม่ยอมจ่ายเงินที่ค้างจำนวน 30ล้านยูโรให้ทางริษัท ดังนั้นทางริษัทได้ยื่นฟ้องต่อศาลเยอรมนีังคัให้รัฐาลไทยจ่ายค่าสร้างทางให้แก่ริษัท แ

ต่การทวงถามตลอดสิกว่าปีที่ผ่านมา ทางรัฐาลไทยได้แต่ตอผันผ่อนตลอดมา ดังนั้นทางศาลรัฐธรรมนูญของเยอรมนีจึงจำเป็นต้องใช้อำนาจยึดทรัพย์ที่เป็นของรัฐาลไทย คือเครื่องินพระที่นั่งที่จอดอยู่สนามินกรุงมิวนิค และคิดดอกเี้ยอีก 10ล้านยูโร เป็น 40 ล้านยูโร ที่รัฐาลไทยจะต้องเอาเงินมาไถ่เครื่องินลำที่ถูกยึด หากไม่เอาเงินมาไถ่ก็ต้องยึดเครื่องินลำนี้ใว้ก่อน

เห็นนักข่าวถ่ายกระดาษที่ศาลนำเอาไปแปะข้างตัวเครื่องิน นั่นคือคำสั่งกฏหมายห้ามเคลื่อนย้ายเครื่องินลำนี้เด็ดขาด

ภาพในจอโทรทัศน์ยังถ่ายไปยังกลุ่มที่ินมากัเครื่องินลำที่ถูกยึดจำนวน 40 คน รวมทั้งอดี้การ์ด ที่ไปเก็ลูกสตอเอร์ลี่ที่สวนแห่งหนึ่ง จากนั้นก็ฉายไปที่กรุงเอร์ลินที่คณะของนายกษิตมาถึง เห็นนายกษิตสัมภาษณ์หน้าไมค์ แต่ในข่าวไม่ได้อกว่านายกษิตพูดว่าอย่างไร และผู้ประกาศข่าวได้อกสุดท้ายว่านายกษิตต้องกลัไปมือเปล่าหากไม่มีเงิน 40 ล้านมาไถ่เครื่องินลำนี้

ท้ายสุดของข่าวอกว่า ทางรัฐาลเยอรมนีจะตรวจสออีกครั้งว่าเครื่องินลำนี้ซื้อด้วยรัฐาลไทยหรือเปล่า? เพราะการซื้อเครื่องินลำใหญ่ขนาดนี้การซื้อขายต้องมีหลักฐานว่าใครเป็นคนซื้อ และซื้อจากประเทศใด สัญญาการซื้อขายต้องเด่นชัดว่าเครื่องินลำนี้ ใครเป็นผู้ซื้อ หากในนามรัฐาลไทยซื้อเครื่องินลำนี้ต้องถูกยึดต่อไป หากไม่เอาเงินมาไถ่

ตอนเวลา 21.00น. ได้เปิดช่อง BRซึ่งเป็นช่องของกรุงมิวนิค ออกข่าวเช่นเดียวกัน ปรากฏว่าสถานีโทรทัศน์ในประเทศเยอรมนีทั้งหมดได้ออกข่าวพร้อมกันเกี่ยวกัเรื่องนี้ และก็คงกระจายไปทั่วยุโรปอีกด้วย

******
ข่าวเกี่ยวเนื่อง:เยอรมันงดออกความเห็นอายัดโอิ้งพระที่นั่ง

ที่มา ไทยรัฐ

เยอรมันงดออกความเห็นกรณียึดเครื่องิน ขณะที่ โฆษกวอลเตอร์าว ยันยึดเครื่องินถูกต้องเพราะเอกสารลงทะเียนด้านการินระุชัด เป็นทรัพย์สินของรัฐาลไทย

สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานอ้างอิงการแถลงข่าวประจำวันของนายมาร์ติน เชเฟอร์ โฆษกประจำกระทรวงการต่างประเทศเยอรมนี ระุว่า นายกษิต ภิรมย์ รมว.กระทรวงการต่างประเทศของไทย ได้เข้าพกันางคอร์นีเลีย เพียร์เพอร์ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนี เพื่อเจรจาหารือกรณีเจ้าหน้าที่ผู้ังคัคดีล้มละลายของริษัท วอลเตอร์าวริษัทเอกชนของเยอรมนี สั่งยึดเครื่องินโอิ้ง 737 ซึ่งเป็นพระราชพาหนะส่วนพระองค์ ในสมเด็จพระรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร ของไทย แต่นายเชเฟอร์ระุว่า รัฐาลเยอรมนีไม่ขอแสดงความเห็นในประเด็นดังกล่าว เพราะรัฐาลเคารพต่อความเป็นอิสระในการทำงานของเจ้าหน้าที่ประจำกระวนการยุติธรรม ซึ่งเป็นผู้รัผิดชอการดำเนินคดีอยู่ในขณะนี้

ขณะที่นายกษิตต้องเจรจากันางคอร์นีเลีย แทนนายกุยโด เวสเทอร์เวลล์ รมว.กระทรวงการต่างประเทศของเยอรมนี ซึ่งอยู่ระหว่างการปฏิัติภารกิจเดินทางเยือนประเทศเม็กซิโก

ด้าน นายอเลกซานเดอร์ เกอร์ิง โฆษกริษัทวอลเตอร์าว เอจี แถลงยืนยันการดำเนินการให้ศาลเยอรมนีสั่งอายัดเครื่องินโอิ้ง 737 ลำนี้ กระทำตามอำนาจกฎหมาย เพราะเอกสารลงทะเียนด้านการินระุชัด เป็นทรัพย์สินของรัฐาลไทย อีกทั้งศาลเยอรมนีได้ตรวจสอเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว และเห็นว่าเป็นเอกสารถูกต้อง

ขณะที่เมื่อเวลา 19.30 น. นายธานี ทองภักดี รองอธิดีกรมสารนิเทศ และโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า ตามที่ไทยได้ยื่นคำร้องคัดค้านให้ถอนอายัดเครื่องินลำดังกล่าวไปยังศาลเยอรมันนั้น ศาลเยอรมันได้พิจารณาเอกสารของฝั่งไทย ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้ริษัทริษัทวอลเตอร์าว เอจี ของเยอรมัน ยื่นเอกสารมาโต้แย้งคัดค้าน ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณา ยังไม่รู้ว่าจะเสร็จเมื่อไร.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น